ทาสแห่งความสวยงาม
มาร Mara - แปลว่า "ตาย" มารจึงแปลว่า "ผู้ให้ตาย" ในความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า มารเป็นเทวดาจำพวกหนึ่งมีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ
โครงการถวายความรู้พระภิกษุสงฆ์ ศิลปะการถ่ายทอดธรรมะ รุ่นที่ 11/3
สภาพระธรรมกถึกแห่งคณะสงฆ์ไทย วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานครจัดโครงการถวายความรู้พระภิกษุสงฆ์ ศิลปะการถ่ายทอดธรรมะ รุ่นที่ 11/3
มะพร้าวมหัศจรรย์ ที่โซโลมอน
ภาพนรกทำให้ผมหยุดดื่มเหล้าได้อย่างถาวรแล้วครับ นรกนั้นเป็นที่ที่เลวร้ายมาก ผมไม่อยากไปที่นั่น ผมพยายามให้ดีที่สุดที่จะไม่ไปนรก เกี่ยวกับบททดสอบเพื่อเป็นชาวพุทธ ผมมั่นใจว่าทำได้ครับ ผมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักขโมยของใคร ผมรักภรรยาผมคนเดียว และไม่โกหกทุกๆเรื่อง ผมเลิกเหล้า เลิกบุหรี่ได้แล้วครับ การนั่งสมาธิ ทำให้ผมผ่านบททดสอบเหล่านี้ได้ดีขึ้น
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
ร่วมมุทิตาสักการะพระภาวนาวิริยคุณเลื่อนสมณะศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช
เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2556 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดพระราชทาน เลื่อนสมณะศักดิ์ให้ พระภาวนาวิริยคุณ รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชภาวนาจารย์ วิ. ณ อุโบสถวัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี เวลา 21.00 น.
อานิสงส์ของการทำหน้าที่เป็นผู้นำบุญชวนคนบวชและติดจานดาวธรรม
ผมเคยแนะนำเพื่อนให้มาบวชที่วัดพระธรรมกาย ท่านก็บวชมาจนถึงปัจจุบันนี้ได้ ๒๐ พรรษาแล้ว ผมจะได้บุญนี้มากน้อยเพียงไร
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้