คำว่า ธรรมะ
ธรรมะ หมายถึง คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ปฏิบัติเพื่อจะให้เข้าถึงธรรมะภายใน คือ ดวงธรรมใส ๆ ซึ่งจะนำไปสู่พระธรรมกายภายใน ซึ่งเป็นที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริงของทุกคน
ดินแดนสุขาวดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
พิธีทอดผ้าป่า วัดพระธรรมกายมินเนโซต้า
ในวันเสาร์ที่ผ่านมา กัลฯ หวาน ธรรม เจ้าของร้าน Sawatdee เมือง Bloomingtonรัฐ มินเนโซต้า และครอบครัว ได้นิมนต์คณะสงฆ์ จากวัดพระธรรมกายมินเนโซต้า และ วัดลาวมินเนโซต้า
บรรยากาศการอบรม ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมพนมสารคาม
น้องๆ เยาวชนที่สมัครเข้าร่วมโครงการบรรพชาสามเณรฟื้นฟูพระพุทธศาสนาทั่วไทย จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้เข้ารับการอบรม เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าพิธีบรรพชาสามเณร
ธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 45
ธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 45 อบรม 30 พฤษภาคม – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ผู้ใดนับถือพระพุทธศาสนาผู้นั้นถือว่าเป็นวงศ์ญาติของพระพุทธเจ้าหรือไม่
ผู้ใดนับถือพระพุทธศาสนาของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้นั้นก็คือ บิดา มารดา บุตร ธิดา และ วงศ์ญาติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นใช่หรือไม่
วัดพระธรรมกายสวิตเซอร์แลนด์ จัดบวชอุบาสิกาแก้ว
วัดพระธรรมกายสวิตเซอร์แลนด์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้จัดบวชอุบาสิกาแก้วรุ่นบรรลุธรรม เนื่องในวันวิสาขบูชา
ผลการปฏิบัติธรรมของพระธรรมทายาทสมชาติ สมนฺตชโย
พระธรรมทายาท สมชาติ สมนฺตชโย อายุ 33 ปี ก่อนมาบวช ผมทำงานเป็นพนักงานบริษัทแห่งหนึ่งครับ มีบ้านอยู่แถวๆ นวนคร แล้วโยมแม่ก็ขายของอยู่ที่ตลาดไทนี่เองครับ แต่ผมและโยมแม่ไม่เคยมาวัดพระธรรมกายเลยสักครั้งเดียว
โครงการมัชฌิมธรรมทายาทหญิง รุ่นที่ 25
โครงการมัชฌิมธรรมทายาทหญิง รุ่นที่ 25 อบรมระหว่างวันที่ 8 - 29 เมษายน พ.ศ. 2561
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้