มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
เพราะ DMC ทำให้มีโอกาสเห็นองค์พระภายใน
ลูกแปลกใจมากๆแทบไม่เชื่อสายตาตัวเอง ว่าองค์พระท่านมาจากไหน มาอยู่ในท้องของลูกได้อย่างไร ยิ่งมองท่านก็ยิ่งใสขึ้น มีความสุขมากๆ สุขยิ่งกว่าการมีเงินทอง เงินทำให้ชีวิตมีความสุขแค่บางส่วน แต่การทำสมาธิเป็นความสุขแบบเต็มส่วน สุขอย่างสมบูรณ์ ที่ไม่ต้องกังวลว่าจะอ่อนค่าหรือแข็งค่า เหมือนเงินดอลล่าหรือค่าเงินบาท ความสุขภายในเป็นความสุขแบบนุ่มๆที่ไม่ทำให้กลุ้มในภายหลัง อยู่คนเดียวก็ยิ้มกับตัวเองและสอนตัวเองได้
อานุภาพความสุขอยู่ที่ใจ ยืดอายุขัยออกไปได้นาน ถึง 10 ปี
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 37 ต้นมหาโพธิพฤกษ์
ต้นมหาโพธิพฤกษ์ หรือต้นไม้ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์นั้น จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย
อานิสงส์รักษาอุโบสถศีลครึ่งวัน
กามแม้น้อย ก็ไม่พอแก่มหาชน มหาชนย่อมไม่อิ่มในกามแม้มาก น่าสลดใจที่พวกคนพาลพากันบ่นว่า รูป เสียงเหล่านี้ จงมีแก่เรา กุลบุตรผู้ประกอบด้วยความเพียร พึงเว้นให้ขาดเถิด
ในโลกนี้ เราจะหาอะไร ๆ ให้กับใจที่มีกิเลสราคะ กิเลสโทสะ กิเลสโมหะนั้น ไม่มีที่พอ ได้เท่าไหร่มันก็ไม่พอ
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
ทุกข์และสุข อันมากจากกาม
กามเป็นสิ่งที่ละได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันพิษภัยของมันได้ เหมือนโรคบางอย่างรักษาได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันมิให้มันเกิดขึ้นได้
ขุดพบพุทธรูปปางไสยยาสน์บามิยัน ในอัฟกานิสถาน
สุวรรณกักกฏชาดก ชาดกว่าด้วยปูทองผู้ฉลาด
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภการ เสียสละชีพของพระอานนทเถระเพื่อพระองค์ ดังนี้แล้วพระองค์จึงทรงนำเรื่องในอดีตมาสาทกดังต่อไปนี้...กาลครั้งหนึ่งนานพระโพธิ์สัตว์เกิดเป็นพราหมณ์ในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง มีอาชีพกสิกรรม