มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - คนกินเดนหรือคนกินซากศพ
ฤๅษีได้ยินนกพูดดังนั้น ต่างถามกันว่า ที่นกแขกเต้าพูดนั้น ชมเราหรือติพวกเรากันแน่ นกพูดขึ้นทันทีว่า เราไม่ได้กล่าวชมพวกท่านหรอก เพราะพวกท่านกินซากศพ ไม่ได้กินเดน ฤๅษีย้อนถามว่า พวกเราได้สละเรือน สละเพศฆราวาสออกบวช ไม่เคยไปเบียดเบียนใคร มีชีวิตอยู่ในป่าด้วยการอาศัยซากสัตว์ที่เสือเหลือง เสือโคร่งล่ามาแล้วทิ้งไว้ อาชีพของเราบริสุทธิ์ ท่านจะมาติเตียนเราได้อย่างไร
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
วัดพระธรรมกายบอสตัน จัดงานบุญวันอาทิตย์
วัดพระธรรมกายบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดงานบุญวันอาทิตย์ และพิธีถวายกองบุญต่างๆผ่านระบบออนไลน์
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
ข้อคิดปริศนาธรรม...พิธีกรรมงานศพ
เคาะโลง รับศีล ไม่ใช่ให้ คนตาย มารับศีล แต่เพื่อเป็นการบอกคนที่มาร่วมงานว่าเอาแต่มัวเมาประมาทขาดสติ ไม่สนใจใน หลักธรรมคำสอน เมื่อตายไปหมดโอกาสทำความดี
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
เราคือ..ผู้ออกแบบชีวิต
การที่เรามองโลกด้วยมุมมองแตกต่างกัน เป็นเพราะเราเกิดมาแตกต่างกัน ได้สัมผัสโลกในแง่มุมที่ต่างกัน และมีประสบการณ์ในโลกนี้ต่างกัน ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาระบุว่า “กรรม”เป็นตัวกำหนดความแตกต่างเหล่านี้
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
ความต้องการของคน 6 ประเภท
ธรรมดากษัตริย์ทั้งหลาย ย่อมประสงค์โภคทรัพย์ นิยมปัญญา มั่งใจในกำลังทหาร ต้องการในการได้แผ่นดิน มีความเป็นที่สุด