การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจให้เหมาะสมแก่การฝึกสมาธิและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงธรรม
ร่างกายของเรานี้ประกอบด้วยธาตุสี่ที่ไม่บริสุทธิ์จึงเสื่อมสลายตลอดเวลา ทำให้ต้องหา ธาตุสี่จากภายนอกมาเติมเข้าไปอยู่เรื่อย ๆ ไม่มีสิ้นสุด ดังที่เราต้องประกอบกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติมธาตุสี่ แต่กายนั้นก็ทำกรรมตามที่ใจของเราเป็นตัวสั่งการ ส่วนของใจทำหน้าที่รู้และคิด ส่วนของกายพูดและทำ
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๕)
มนุษย์ที่เกิดมา ล้วนมีวัตถุประสงค์เพื่อมาสร้างบารมี มาปฏิบัติธรรม เพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน
นรก-สวรรค์มีจริงหรือไม่
ในพระไตรปิฎกมีหลักฐานบันทึกไว้มากมายว่า นรก-สวรรค์มีจริง แต่ทำไมคนจำนวนไม่น้อยยังสงสัยว่านรก-สวรรค์มีจริงหรือไม่?
โครงการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดสติ ปัญญาและสันติสุข ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา
ชมรมพุทธศาสตร์สากล ได้จัดโครงการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดสติ ปัญญาและสันติสุข ปีที่ 2 แก่นักศึกษาคณะพยาบาล มหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (5)
บุคคลอยู่ในเรือนของผู้ใดแม้คืนเดียว ได้กินข้าวและดื่มนํ้าแล้ว ไม่ควรคิดร้ายแก่ผู้นั้นแม้ด้วยใจ ผู้คิดร้ายต่อบุคคลเช่นนั้น ชื่อว่าเผาฝ่ามืออันชุ่ม และชื่อว่าประทุษร้ายมิตร บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่ควรหักรานกิ่งของต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนเลวทราม
พระทศพลญาณ
มนุษย์ส่วนใหญ่ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ เพียงเพื่อให้รู้วิธีการประกอบอาชีพ ที่จะนำมาซึ่งปัจจัยสี่สำหรับหล่อเลี้ยงร่างกาย ให้ดำรงอยู่ในโลกนี้อย่าง
ผลการปฏิบัติธรรมสามเณรเตรียมอุปสมบทอุทิศชีวิตวันวิสาขบูชา ตอน จะเป็นพระแท้ไปวันต่อวันชาติต่อชาติ
กระผมลูกเณร ฉัตรดนัย ตระกูลคูศรี อายุ 22 ปี เปรียญธรรม ประโยค 4 เมื่ออุปสมบทแล้วจะได้ฉายาว่าวิสารทชโย แปลว่า ผู้มีชัยชนะของผู้แกล้วกล้า
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพิชิตปัญหา
พระโพธิสัตว์ได้ใช้สติปัญญา แก้ข้อครหาของอำมาตย์ทั้ง ๕ คน เช่น เรียกให้อุจเฉทวาทีอำมาตย์เข้ามา พลางกล่าวว่า "ท่าน กล่าวว่า ทานที่บุคคลให้แล้วไม่มีผล และยังสำคัญว่า สัตว์ทั้งหลายย่อมขาดสูญในโลกนี้เท่านั้น สัตว์ผู้ไปสู่ปรโลกไม่มีเลย แล้วมาหัวเราะเยาะเราทำไม"
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - พูดดีเป็นศรีแต่ตัว
เรื่องราวของนายพรานผู้เป็นบัณฑิต ที่ถูกลูกเศรษฐีทั้ง ๔ คน มาขอชิ้นเนื้อที่ตนหามาได้ โ็ดยที่ลูกเศษฐีจะผลัดกันเข้ามาขอทีละคน ดูว่าใครจะได้เนื้อส่วนไหน แล้วนายพรานได้ใช้วาจาที่ลูกเศรษฐีแต่ละคนพูดนั้นเป็นเครื่องตัดสินว่าจะให้ส่วนใดของชิ้นเนื้อ หลังจากเหตุการณ์นี้ผ่านพ้นไป นายพรานพร้อมครอบครัวถึงกับได้เข้าไปอยู่ที่คฤหาสน์ เพราะด้วยวาจาของตน