การรู้จักตัวเองอย่างถูกหลักวิชชา
ในพระพุทธศาสนา ประเด็นใหญ่ในการเรียนการสอน คือ การพยายามที่จะสอนให้ทุกคนรู้จักตัวเองให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน Five Hindrances in Meditation
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน Five Hindrances in Meditation นิวรณ์ 5 โดย Aj.Hakan Bilgili
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
ศีลภรตคืออะไร ต่างจากศีลห้าอย่างไร? - หลวงพ่อตอบปัญหา
ศีลภรตคืออะไร ต่างจากศีลห้าอย่างไร?,การรักษาศีลแปดคือการประพฤติพรหมจรรย์ ถ้ารักษาศีลข้อสามได้ดี ข้ออื่นเช่น ข้อหก เจ็ด แปด ไม่ต้องรักษาก็ได้ ใช่หรือไม่?,ทำไมต้องนั่งสมาธิ? สมาธิดีอย่างไร?
อานิสงส์บูชาด้วยดอกดีหมี
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงข้ามพ้นด้วยพระองค์เองแล้ว จักทรงยังสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้น ทรงทรมานตนเองแล้ว จักทรงทรมานสรรพสัตว์ ทรงเบาพระทัยเองแล้ว จักทรงยังสรรพสัตว์ให้เบาใจ ทรงสงบเองแล้ว จักทรงยังสรรพสัตว์ให้สงบ ทรงพ้นเองแล้ว จักทรงยังสรรพสัตว์ให้พ้น ทรงดับทุกข์เองแล้ว จักทรงยังสรรพสัตว์ให้ดับทุกข์
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๒๑ ( ผู้เปี่ยมด้วยความเมตตา )
จากเรื่องนี้จะเห็นว่า โทษของการบอกความลับแก่คนอื่น โดยที่ยังไม่ถึงเวลาสมควรมีโทษถึงตายทีเดียว ก่อนพูดจาเราเป็นนายของคำพูด ครั้นพูดไปแล้วคำพูดจะเป็นนายของเรา เพราะฉะนั้น ต้องฝึกเรื่องการพูดจาให้ดี เรื่องไหนควรพูด เรื่องไหนควรเก็บไว้เป็นความลับ ให้รู้จักเลือกให้ดี
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๖ ( ลี้ภัยการเมือง )
วันหนึ่ง เสนกะได้แอบปรึกษาหารือกับปุกกุสะ กามินทะ และเทวินทะ ว่าทำอย่างไรจึงจะกำจัดมโหสถได้ มิเช่นนั้นพวกตน ก็จะเหมือนวัวแก่ที่ไม่มีค่าแก่การเทียมเกวียน เสนกะได้ออกอุบายด้วยการแอบไปลักขโมยพระจุฬามณีของพระราชา ให้ท่านปุกกุสะไปขโมยสุวรรณมาลา...
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - สักการะรอยพระพุทธบาท
ผลแห่งบุญนี้ น่าอัศจรรย์เหลือเกิน เราได้เห็นรอยพระบาทที่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ติสสะ ทรงประทับรอยไว้ เป็นผู้มีใจร่าเริงโสมนัส ยังจิตให้เลื่อมใสในรอยพระบาท ในกัปที่ ๙๒ แต่กัปนี้ เราไม่เคยไปสู่สุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการสักการะรอยพระพุทธบาท
พระอรหันต์รู้ได้ยาก
พระอริยบุคคลเหล่าใดในศาสนาของพระโคดม เป็นผู้ประกอบดีแล้ว ด้วยกิริยาทางกายและวาจาอันบริสุทธิ์ มีใจมั่นคง เป็นผู้ไม่มีความห่วงใยในกายและชีวิต พระอริยบุคคลเหล่านั้น บรรลุอรหัตผลที่ควรบรรลุ หยั่งลงสู่อมตนิพพาน ดับกิเลสได้ เสวยผลแห่งความดับเย็นอยู่
ทุกข์อย่างยิ่ง สุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์อย่างยิ่ง, บัณฑิตทราบเนื้อความนั่น ตามความจริงแล้ว