ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 16
จึงกลับมาแลดูพระองค์ก็จำได้ ว่า ใช่พระเตมิยราชกุมารแน่แล้ว จึงหมอบลงแทบพระบาทของพระโพธิสัตว์ ประคองอัญชลีทูลวิงวอนว่า “ข้าแต่พระราชโอรส ขอพระองค์จงเสด็จกลับพระนครเถิด ข้าพระบาทจะนำพระองค์กลับสู่ราชมณเฑียร ขอพระองค์จงครองราชย์สมบัติ ขอจงทรงพระเจริญ พระองค์จะอยู่ทำอะไรในป่านี้เล่า
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 6
อาจารย์เสนกะจินตนาการไปไกลว่า “หาก มโหสถกุมารนี้ได้เข้ามาอยู่ในราชสำนักเมื่อใด เราก็คงหมดความสำคัญ แม้พระราชาก็จักทรงลืมเราไปเสียสิ้น ไม่ช้าเราก็จะตกต่ำหมดรัศมี แม้ลาภ ยศ บริวาร และความเป็นใหญ่ก็จะพลอยสูญสิ้น จำเราจะต้องกราบทูลทัดทานไว้ก่อน”
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 16
เมื่่อมาตลีเทพสารถีได้นำพระเจ้าเนมิราชมาถึงเทวสภา เหล่าเทวดาก็อัญเชิญให้เสด็จขึ้นประทับนั่งบนทิพอาสน์ใกล้กับท้าวสักกเทวราช และท้าวสักกะจอมเทพทรงเกิดความเลื่อมใสในพระเจ้า เนมิราชเป็นอย่างยิ่ง ได้ตรัสเชื้อเชิญให้ทรงบริโภคกามอันเป็นทิพย์ในเทวโลกกับพระองค์ โดยจะทรงแบ่งสมบัติทิพย์ให้ เรื่องราวจะเป็นอย่างไรนั้น
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๒)
ความชั่วทางกาย วาจา และใจของบุคคลใดไม่มี เราเรียกบุคคลนั้น ผู้สำรวมแล้วโดยฐานะ ๓ ว่า เป็นพราหมณ์
อานิสงส์การจุดประทีปถวายเป็นพุทธบูชา
การบูชา คือ การแสดงออกในลักษณะของความเลื่อมใสศรัทธา มีการยกย่องเชิดชูทั้งทางกาย วาจา และใจ ด้วยความนอบน้อมทั้งต่อหน้าและลับหลัง การแสดงต่อหน้าเป็นการแสดงออกถึงความเคารพและตระหนักในคุณธรรมความดีของบุคคลที่เราบูชา อย่างจริงใจ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน The Lord Buddha Part 12
ติดตามเรื่องเกี่ยวกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า The Lord Buddha's History Part #12 ประวัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 12 พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จดับขันธปรินิพพาน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๐)
แนวการสอนและการปฏิบัติของพระเดชพระคุณหลวงปู่เป็นไปตามแบบของโบราณาจารย์ ซึ่งสงเคราะห์ลงได้ในหลักกายคตาสติกรรมฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้
สามเณรบวชอุทิศชีวิต (2)
และแล้วกาลเวลาแห่งการเพาะบ่มคุณธรรม และการฝึกตัวของลูกเณรก็ล่วงเลยผ่านมาได้ ๘ปี ผ่านทั้งร้อนผ่านทั้งหนาว สุดท้ายก็ก้าวมาเป็นสามเณรเตรียมบวชอุทิศชีวิต เป็นการยกระดับชีวิตจากเหล่าก่อของสมณะ ขึ้นมาเป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัย ลูกเณรรู้สึกดีใจมากเลยครับพระเดชพระคุณหลวงพ่อ เพราะว่ามันยาก กว่าที่ใครจะสามารถอดทนต่ออำนาจกิเลสมาจนถึงจุดๆนี้ได้