ประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 1
ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน รูปภาพพระพุทธเจ้า การประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน สรุปประวัติพระพุทธเจ้า
เส้นทางจอมปราชญ์ (๕)
บุคคลเชื่อธรรมของพระอรหันต์ทั้งหลาย เพื่อบรรลุนิพพาน เป็นผู้ไม่ประมาท มีปัญญาเป็นเครื่องสอดส่อง ฟังอยู่ด้วยดี ย่อมได้ปัญญา บุคคลผู้มีธุระ กระทำสมควร มีความหมั่นย่อมหาทรัพย์ได้ บุคคลย่อมได้ชื่อเสียงด้วยสัจจะ ผู้ให้ย่อมผูกมิตรไว้ได้ ผู้ใดมีศรัทธาอยู่ครองเรือน มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ธรรมะ ธิติ จาคะ ผู้นั้นแล ละจากโลกนี้ไปแล้วย่อมไม่เศร้าโศก
อานิสงส์การถือธุดงควัตร (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 4
ในวันนี้เราจะได้มาศึกษาถึงประวัติย่อของพระภิกษุผู้เป็นต้นบุญต้นแบบที่เป็นเอตะทัคคะ หรือมีความเป็นเลิศทางด้านการถือธุดงควัตรกัน
ชีวิตที่เลือกแล้ว ขอบวชสร้างบารมี
พระชิดชนก ปญฺญาเชฏฺโฐ จากศูนย์อบรมวัดหัวถนน จังหวัดนครปฐม ได้เข้ามาบวชในโครงการของวัดพะธรรมกาย เพราะโยมพ่อของท่านได้เจอหนังสือชวนบวชมี่วางไว้ในร้านตัดผม เมื่ออ่านหนังสือแล้วจึงได้ตัดสินใจบวชทันที
มูลกรรมฐานเรื่อง “โลมา”
ตามหลักพระพุทธศาสนา โลมา หรือ เส้นขน ถูกเรียกว่าเป็นสิ่งปฏิกูลหรือเป็นของไม่สวยไม่งาม ขนที่อยู่บนร่างกายของเรานั้นมีทั้งคุณและโทษ
อานิสงส์กฐิน-บาตรและจีวรอันเป็นทิพย์ และเครื่องประดับมหาลดาประสาธน์
อานิสงส์ของการทอดกฐิน ซึ่งเป็นกาลทานอันประเสริฐนั้น มีมากมายไม่อาจจะประมาณได้
พระกัลยาณมิตรรับมอบนโยบายบวชพระแสนรูป
พระกัลยาณมิตร หลักสูตรพระพี่เลี้ยง รับฟังนโยบาย โครงการบวชพระ 1 แสนรูป ณ วัดพระธรรมกาย
ความสุขภายในไม่ได้ไกลเกินเอื้อม
ตอนวันแรกๆที่กระผมนั่งสมาธิ กระผมไม่เห็นอะไรเลยนอกจากความมืด แต่กระผมจะทำตามที่พระอาจารย์สอน คือ ให้ดูไปอย่างสบายๆ กระผมก็ดูความมืดไปเรื่อยๆไม่คิดอะไร ทำความรู้สึกเฉยๆ และตอนนั้นไม่ว่ากระผมจะทำอะไร กระผมจะพยายามนึกถึงศูนย์กลางกายให้ได้ตลอดเวลา
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ปล่อยวางอย่างพระอริยะ
พระบรมศาสดาประทับยืนที่เหนือศีรษะของท่าน ตรัสให้เห็นทุกข์เห็นโทษของสังขารร่างกายนี้ว่า "กายของเธอนี้อยู่อีกไม่นาน เพราะจะปราศจากวิญญาณแล้ว หาอุปการะมิได้ อีกไม่นานต้องนอนบนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ที่ไม่มีประโยชน์"
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ตอนที่ ๔
พระเถระอธิบายให้ฟังว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระบรมศาสดาตรัสสอนไว้ว่า...มาเถิดภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งจิตว่า ผู้นี้เป็นมารดา ในหญิงผู้ที่พอเป็นมารดาได้ ส่วนหญิงผู้ที่พอเป็นพี่สาว น้องสาวและลูกสาว พวกเธอจงคิดว่าเป็นพี่สาว เป็นน้องสาวและเป็นลูกสาว...ด้วยวิธีการอย่างนี้แหละ จึงเป็นเหตุให้พระภิกษุหนุ่มทั้งหลาย ประพฤติพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์อยู่ได้จนตลอดชีวิต"