มูลกรรมฐานเรื่อง “โลมา”
ตามหลักพระพุทธศาสนา โลมา หรือ เส้นขน ถูกเรียกว่าเป็นสิ่งปฏิกูลหรือเป็นของไม่สวยไม่งาม ขนที่อยู่บนร่างกายของเรานั้นมีทั้งคุณและโทษ
ตักบาตรอาคาร 100 ปี พระ 108 รูป วันเสาร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ.2558
ตักบาตรอาคาร 100 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง จำนวน 108 รูป ในวันเสาร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ.2558 "ต้อนรับปีใหม่ไทย ฉลองสามเณรใหม่ เอาบุญใหญ่เสาร์ต้นเดือน" ณ บริเวณลานเชื่อมต่อระหว่างหอฉันคุณยายอาจารย์ฯ
อุปสมบทหมู่บูชาธรรม 103 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
บวชบูชาธรรม ๑๐๓ ปี คุณยายอาจารย์ โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่ รุ่นบูชาธรรม ๑๐๓ ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
มูลกรรมฐาน กรรมฐานบทแรกของภิกษุผู้บวชใหม่ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
มูลกรรมฐาน คืออะไร มีความสำคัญประการใด ทำไมพระอุปัชฌาย์ทุกองค์จะต้องบอกมูลกรรมฐานแก่ภิกษุผู้บวชใหม่ทุกครั้ง ... มาหาความรู้กันได้ที่นี่ค่ะ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
รับสมัครผู้แทนอัญเชิญผ้าไตรกฐิน คุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
รับสมัครผู้แทนสาธุชน ร่วมเป็นส่วนหนึ่งแห่งริ้วขบวนประวัติศาสตร์ในพิธีอัญเชิญผ้าไตรกฐิน คุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ปฐมนิเทศ วันอาทิตย์ที่ 31 ต.ค. 2553 ซ้อมใหญ่ วันเสาร์ที่ 6 พ.ย. 2553
1-2 พ.ค. พิธีถวายกองทุนภาษาบาลี ณ หอฉันคุณยายอาจารย์ฯ
พิธีหล่อรูปเหมือนทองคำคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
“ถ้าไม่มีคุณยาย ก็ไม่มีหลวงพ่อ ถ้าไม่มีหลวงพ่อ ก็ไม่มีวัดพระธรรมกาย” จากคำกล่าวนี้ จะเห็นได้ว่า คุณยายมีคุณูปการอย่างสูงสุดต่อวัดพระธรรมกายและลูกหลาน จำนวนนับล้าน ๆ ที่ต่างหลั่งไหลตามมาสร้างบุญสร้างบารมีจนกระทั่งถึงยุคปัจจุบัน
โครงการอุปสมบทหมู่บูชาธรรม 111 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
โครงการอุปสมบทหมู่บูชาธรรม 111 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ระยะเวลาอบรมตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 รับสมัคร ณ มหารัตนวิหารคด 11 วัดพระธรรมกาย
อุปสมบทหมู่บูชาธรรม 105 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่ รุ่นบูชาธรรม 105 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ครูผู้สืบสานวิชชาธรรมกาย อบรมระหว่างวันที่ 3 มกราคม ถึง 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 (รวม 45 วัน) ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
วัดพระธรรมกาย จากวันวานถึงวันนี้
วัดพระธรรมกาย เติบใหญ่ขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดมา จนกระทั่งพื้นที่ ๑๙๖ ไร่ คับแคบลง จึงขยายพื้นที่ออกไปอีก ๒,๐๐๐ ไร่ เพื่อรองรับการขยายงานพระศาสนาในอนาคต ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาและสังคมไทย