อานิสงส์ถวายน้ำผึ้ง
ขุมทรัพย์ คือบุญนี้ ให้สมบัติน่าใคร่ทุกอย่างแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายได้ เหล่าเทวาและมนุษย์ทั้งหลาย ปรารถนาผลใดๆ ผลนั้นๆ ทั้งหมด สำเร็จได้ด้วยบุญนิธินั่น
ทานทำให้อายุยืน ผิวสวย มีความสุข แข็งแรง ฉลาด ได้หรือไม่ ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทายกผู้ให้โภชนะ (อาหาร) เป็นทาน ชื่อว่าให้ฐานะ 5 อย่างแก่ปฏิคาหก (ผู้รับ) 5 อย่างเป็นไฉน คือ
เข้าพรรษา เข้าถึงธรรม
เมื่อกล่าวถึงคำว่า "เข้าพรรษา" จะนึกถึงภาพที่พระภิกษุสงฆ์ท่านเดินลัดคันนา แบกกลด ฝนตก ชายจีวรเลอะเปรอะเปื้อนไปด้วยโคลนดิน แม้สาเหตุของการบัญญัติให้พระภิกษุจำพรรษาตลอดสามเดือนจะมีเหตุมาจากการที่ไม่ประสงค์ให้พระภิกษุไปเดินเหยียบย่ำข้าวกล้า ผลิตผลทางการเกษตรของชาวนา เพราะเป็นช่วงฤดูเพาะปลูก แต่ก็เป็นประโยชน์จากการที่พระสงฆ์ไม่ได้ออกนอกวัด ไม่ได้จาริกไปที่ไหน ทำให้ท่านได้อยู่กับที่ อยู่แต่ในวัด ได้มีเวลาประพฤติปฎิบัติธรรมมากยิ่งขึ้น
ตอนนั่งสมาธิทำไมจิตใจมักคิดถึงแต่เรื่องไม่ดี
เราเคยสะสมความคิดไม่ดีมาก่อน พอใจสงบเข้า ก็เหมือนกรอฟิล์มภาพยนตร์ย้อนกลับ ของไม่ดีผุดขึ้นมาเหมือนคุ้ยกองขยะ พอเราทำสมาธิก็เหมือนเราโกยขยะให้หลุดออกไปจากใจ
อานิสงส์ถวายประทีป
การบูชาบุคคลผู้ควรบูชาเป็นมงคลอย่างยิ่ง
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 9
พระราชธิดาทรงทราบว่า เสนาบดีนั้นมาเพื่อราชสมบัติ จึงมีพระประสงค์จะทดสอบเสนาบดีว่า จะมีปัญญาพอที่จะรองรับสิริแห่งเศวตฉัตรได้หรือไม่ จึงรับสั่งให้ท่านเสนาบดีเข้าเฝ้า
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 12
พระมหาชนกโพธิสัตว์ได้ทรงผ่านบดทดสอบ และสามารถไข้ปัญหาแห่งขุมทรัพย์ได้ครบทั้ง ๑๖ ข้อ ได้ครองราชสมบัติด้วยพระอัจฉริยภาพอย่างเต็มภาคภูม
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 13
นรชนผู้มีปัญญา แม้ประสบทุกข์แล้ว ก็ไม่พึงตัดความหวังที่จะเข้าถึงความสุข จริงอยู่ คนเป็นอันมาก เมื่อประสบทุกข์ ก็ทำสิ่งที่ไม่มีประโยชน์ เมื่อได้รับความสุข จึงค่อยทำสิ่งที่มีประโยชน์ คนเหล่านั้นไม่ตระหนักถึงประโยชน์ จึงเข้าถึงความตาย
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๕ )
สามเณรเดินต่อไป เห็นช่างศร กำลังเอาลูกศรลนไฟ เล็งดูด้วยหางตา แล้วดัดให้ตรง จึงเรียนถามพระเถระด้วยความอยากรู้ ตามประสาเด็กอายุ ๗ ขวบ ที่มีบารมีแก่กล้า เมื่อได้คำตอบแล้ว ก็ตรึกธรรมะไปว่า ถ้าสามารถดัดลูกศรที่ไม่มีจิต ให้ตรงได้ ทำไมหนอ คนซึ่งมีจิตแท้ๆ จึงไม่สามารถบังคับจิตของตนเองได้"
โอวาทปาฏิโมกขาทิปาโฐ