V-Star กับวีรกรรมที่ไม่ธรรมดา
เมื่อวันเด็กที่ผ่านมาข่าวเยาวชนที่เป็นข่าวดังไปทั่วประเทศ เมื่อนักข่าวท้องถิ่น สื่อมวลชนทุกช่อง ทั้ง ช่อง NBT ช่อง 3 ช่อง 7 และช่อง 9 รวมไปถึงวิทยุท้องถิ่น ได้ช่วยกันประโคมข่าวสว่าง ข่าวสร้างสรรค์ ของเหล่าเด็กดี V-Star โรงเรียนยุวศึกษา โรงเรียนแกนนำฟื้นฟูศีลธรรมโลก จ.สุราษฎร์ธานี ได้รวมตัวกันทำความดีจัดกิจกรรมเทเหล้าเผาบุหรี่ ในโครงการ “บอกโทษเกินร้อย ชิงทุนเกินล้าน”
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
เวลาใส่บาตรจำเป็นต้องถอดรองเท้าหรือไม่
พระภิกษุถอดรองเท้าบิณฑบาต เพราะเคารพในทานของผู้ตักบาตร ผู้ตักบาตรถอดรองเท้าในฐานะให้ความเคารพกับพระภิกษุ ซึ่งมีศีล 227 ข้อ การถอดรองเท้าเป็นการแสดงความเคารพ
วัดพระธรรมกายซีแอตเติลสอนสมาธิเบื้องต้น
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้สอนสมาธิ ณ YWCA Downtown Vancouver ซึ่งเป็นองค์กรช่วยผู้หญิงยากไร้
"ยัดเยียด"เด็กเรียนพิเศษปิดเทอม ระวัง"โรคซึมเศร้า"ถามหา
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 28
ชาวบ้านปาจีนยวมัชฌคามได้อาศัยวิธีหุงต้มตามที่ มโหสถแนะนำ ในที่สุดก็สามารถช่วยกันหุงข้าวเปรี้ยวขึ้นมาได้สำเร็จตามพระราชประสงค์ ข้าวเปรี้ยวนั้นได้ถึงพร้อมด้วยองค์ ๘ ประการครบถ้วนบริบูรณ์ นั่นคือ ข้อ ๑ ในเมื่อไม่ให้หุงด้วยข้าวสาร ท่านสิริวัฒกะก็ให้จัดการหุงด้วยข้าวป่น และปลายข้าวที่ตำแหลกละเอียดแล้ว จึงไม่ชื่อว่าข้าวสาร
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 12
พระมหาชนกโพธิสัตว์ได้ทรงผ่านบดทดสอบ และสามารถไข้ปัญหาแห่งขุมทรัพย์ได้ครบทั้ง ๑๖ ข้อ ได้ครองราชสมบัติด้วยพระอัจฉริยภาพอย่างเต็มภาคภูม
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย ยึดหลัก “อนุปุพพิกถา” ซึ่งเป็นแนวการสอนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใช้มากที่สุด เป็นการสอนไปตามลำดับ 5 ข้อ คือ
พบ 34 ร.ร.ดังทั่วกรุงโซนอันตราย ร้านเหล้า-เกม-คาราโอเกะ-อาบอบนวด ล้อมรอบ
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”