จาก " ไอที " สู่ " ไอธรรม "
พระภิกษุรูปนี้โปรไฟล์ไม่ธรรมดา.. ท่านมีดีกรีดอกเตอร์จาก NTNU ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยใหญ่ที่สุดและมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศนอร์เวย์ ทำให้หลายคนอยากรู้ว่าท่านคิดอย่างไรถึงมาบวช เราจึงไปเสาะหาความจริงมาเล่าสู่กันฟัง
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 2 ชนะพกพรหม)
เพราะว่า สังสารวัฏกำหนดที่สุดของเบื้องต้นท่ามกลางและเบื้องปลายไม่ได้ ก็เหตุเพียงเท่านี้ พอทีเดียวที่เธอจะเบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด เพื่อให้พ้นทุกข์
เยือนดินแดนอารยธรรม เมียนมาร์
เยือนดินแดนอารยธรรม สัมผัสทะเลเจดีย์ แห่งเมืองพุกาม และร่วมพิธีตักบาตรพระสงฆ์ 20,000 รูป ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า โดยสายการบิน Myanmar Airways (8M)
ผมอยู่ ณ ศูนย์กลางแห่งความสุข
แม้ผมจะมีความสุขที่ได้ให้ความบันเทิงกับผู้คน แต่ในใจลึกๆแล้วผมอยากที่จะรู้จักกับตัวตนภายในของตัวเอง จนปี พ.ศ. 2556 มีเพื่อนแนะนำให้เข้าร่วมโครงการปฏิบัติธรรม เดอะ มิดเดิล เวย์ 3 วัน ที่ประเทศฮ่องกง นั่นเป็นครั้งแรกที่ผมได้นั่งสมาธิ ผมสัมผัสได้ถึงพลังที่กลางท้อง พลังของความสงบ
พระอุปวาณเถระ กับอานิสงส์การบูชาพระเจดีย์
ประวัติการสร้างและบูชาพระเจดีย์ของนักสร้างบารมีในกาลก่อนว่าท่านเหล่านั้นทำกันอย่างไร และผลบุญที่ท่านทั้งหลายเหล่านั้นได้รับเป็นอย่างไร
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สหายแห่งธรรม
แม้พญาช้างจะมีอุปสรรคคือไม่ได้กายมนุษย์ แต่ด้วยดวงใจที่เต็มเปี่ยมด้วยพลังศรัทธา จึงสามารถทำกิจทุกอย่าง คอยอุปัฏฐากพระพุทธองค์โดยมิได้ขาดตกบกพร่องเลย พญาช้าง ได้ใช้งวงจับหม้อไปตักน้ำฉันน้ำใช้มาตั้งไว้ เวลากลางวันก็เอางวง หักกิ่งไม้มากวาดบริเวณที่พัก เพื่อให้พระบรมศาดาได้ใช้เป็นที่เสด็จเดินจงกรม
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก
อานิสงส์บูชาเจดีย์ด้วยดอกบัว ๘ กำ
ดูก่อนท่านผู้เห็นภัยในวัฏสงสารทั้งหลาย พวกเธอทั้งหลาย อย่ากลัวบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข
พิธีสมโภชพระประธานฉลอง 3 ปี สถาปนาวัดพระธรรมกายเอกเกอร์ซุนด์
วัดพระธรรมกายเอกเกอร์ซุนด์ จัดพิธีสมโภชพระประธานฉลอง 3 ปี เนื่องในโอกาสสถาปนาวัดพระธรรมกายเอกเกอร์ซุนด์
วัดป่ากลางทุ่ง
วัดกลางทุ่งและวัดป่าใต้ได้รวมเป็นวัดป่ากลางทุ่ง รวมพื้นที่ทั้งหมดราว ๓๒ ไร่ ๓ งาน ๖๐ ตารางวา จากรูปแบบศิลปะกรรมอุโบสถเก่าสัณนิษฐานว่าสร้างในสมัยรัชกาลที่ ๓ ราวปีพุทธศักราช ๒๓๘๕