เรื่องปลื้มๆ จากทวาย ตอนที่ 2
สิ่งอัศจรรย์ในพลังศรัทธาของชาวพุทธเมียนมาร์ ทำให้ทีมงานต้อง...อึ้ง...ทึ่ง…ปลื้ม.. เพราะจากเดิมวางแผนว่าต้องใช้เวลา 1 เดือนสำหรับตอกเสาโคม แต่เนื่องจากสนามกีฬาที่จะตอก มีติดแข่งกีฬาระดับประเทศ จึงทำให้เหลือเวลาเตรียมพื้นที่แค่ 9 วันเท่านั้น
ปลื้ม..เพราะกฐินนี้ “ชิตัง เม” ตอน ยอดหญิงหัวใจเด็ดเพชรยังแพ้
ลูกเกิดในครอบครัวที่พ่อแม่มีลูกมากถึง 10 คน และด้วยความที่บ้านเราไม่ได้รวยมาก ลูกจึงต้องช่วยแม่ทำงานตั้งแต่เล็ก โดยมัดถุงพุทราส่งให้เขาขายก่อนที่จะไปโรงเรียน และพอกลับจากโรงเรียนก็ต้องมามัดถุงพุทราอีกจนถึง 2 ทุ่ม ซึ่งกว่าจะได้ทำการบ้านก็ดึกดื่นทุกคืน หนำซ้ำพออายุ 13 ขวบ ก็ต้องออกหางานทำจริงๆจังๆ เพื่อเลี้ยงตัวเองและส่งเงินช่วยแม่ เพราะพระคุณท่านที่เลี้ยงลูกจนโตมา
ปลื้ม..เพราะกฐินนี้ “ชิตัง เม” ก่อนใคร ตอน ล้านแรกในชีวิตของครูที่หัวใจประเมินค่ามิได้
หลวงพ่อคะ ลูกเกิดในครอบครัวที่ไม่ได้ร่ำรวยอะไรเลยค่ะ และหลังเรียนจบมาก็รับราชการเป็นครูมาตั้งแต่อายุ 22 ปี จนถึงปัจจุบัน..ก็ใกล้จะเกษียณแล้วค่ะ เรียกได้ว่าเป็นครูมาอย่างยาวนานถึง 34 ปี เพราะตอนนี้ลูกอายุได้ 56 ปีแล้วค่ะ
ปลื้ม..เพราะกฐินนี้ “ชิตัง เม” ก่อนใคร ตอน ลูกกตัญญูของแท้มาแล้วครับ
ในช่วงที่ผมหันมาเข้าวัดพระธรรมกายอย่างจริงจัง และได้เข้าใจในเรื่องบุญอย่างลึกซึ้งแล้ว ผมก็มานั่งประมวลผลความคิดจนเกิดวิชั่นแบบเหนือระดับว่า..บุญที่ทำแล้วได้บุญมาก ก็คือ บุญจากการเป็นประธานกฐิน เพราะ 1 ปีมีครั้งเดียว อีกทั้งยังเป็นบุญที่ให้อานิสงส์มาก แบบจัดหนัก
ปลื้ม..เพราะกฐินนี้ “ชิตัง เม” ตอน ปิดบัญชีปุ๊บ..เงินไหลมาปั๊บ
หลวงพ่อคะ...ตั้งแต่ลูกปิดบัญชีทำบุญ ด้วยใจที่อยากจะรื้อผังจนของตัวเองออกไปให้หมด คนตกงานอย่างลูกสามารถทำบุญ M ได้ถึง 4 ปีซ้อนอย่างเหลือเชื่อ ทั้งๆที่ชีวิตลูกไม่มีความพร้อมเหมือนคนอื่นเลย เพราะปัจจุบันลูกยังไม่มีงานประจำทำ แถมยังเช่าห้องอยู่ ซึ่งพอใครมาดูห้องแล้วก็ต้องบอกลูกว่า ให้ไปหาที่อยู่ใหม่กันแทบทั้งนั้น
พิธีตอกเสาเข็มวัดพระธรรมกายสิงคโปร์ : ตอกเสาเข็มตอกย้ำคำว่า “ปลื้ม” คำเดียวไม่จบ
วันที่ใครๆก็รอคอย แม้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตปองโกล ดร. จานิล ปุถุเจรี ท่านกล่าวว่า “ขอบคุณที่เชิญผมมาร่วมงานนี้ วันนี้นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่จะมีวัดใหม่ในเขตปองโกล ซึ่งจะเปิดโอกาสให้กับชาวเมือง ได้มาสักการะ ได้พบกับความสงบ และ เครื่องนำทางของชีวิต ผมขอแสดงความยินดี และพร้อมที่จะสนับสนุนงานของวัดต่อไปในอนาคต”
ปลื้ม..เพราะกฐินนี้ “ชิตัง เม” ตอน M แรกของชีวิตแม่ค้าข้างถนน
ก่อนเข้าวัดลูกตกระกำลำบากมาก มีชีวิตแบบหาเช้ากินค่ำ โดยรับจ้างเย็บผ้ามีรายได้แค่วันละ 79 บาท ส่วนสามีก็เป็นแค่ลูกจ้างในร้านตัดผม ที่มีรายได้ไม่แน่นอน บางทีก็ได้แค่ 65 บาทต่อวันเท่านั้น ซึ่งเราต้องเอารายได้ทั้งหมดมาเลี้ยงลูกอีก 3 คน และต้องส่งให้แม่สามีด้วย
ปลื้ม..เพราะกฐินนี้ “ชิตัง เม” ตอน M แรกที่ภูมิใจที่สุดในโลก
โครงการสามเณรล้านรูป ฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ตอน ชวนบวชล้านก็จะได้ล้านๆ ปลื้ม
หลวงพ่อครับ ผมขอเล่าย้อนถึงความปลื้ม ตอนที่จัดบรรพชาสามเณรรุ่นแรกสักนิดนะครับ เผื่อพุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญ ว่าที่พระพี่เลี้ยงสามเณรล้านรูปได้ฟัง จะได้มีแฮงใจ๋ ศูนย์ปฏิบัติธรรมเขาคิชฌกูฏได้จัดอบรมสามเณรขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อภาคฤดูร้อนปีที่แล้วนี้เอง
"TACGA"ปลื้ม"โมเดิร์นไนน์"เปิดเวทีคนการ์ตูน