ทุกข์อย่างยิ่ง สุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์อย่างยิ่ง, บัณฑิตทราบเนื้อความนั่น ตามความจริงแล้ว
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
แม่มนัสพาว่าที่สะใภ้ทำบุญตักบาตรพระ 2,555 รูป
ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์ !? ของ 4 ผู้ช้ำรัก
ทุกข์และสุข อันมากจากกาม
กามเป็นสิ่งที่ละได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันพิษภัยของมันได้ เหมือนโรคบางอย่างรักษาได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันมิให้มันเกิดขึ้นได้
อานิสงส์ถวายน้ำอ้อย
ควรทำวันและคืนไม่ให้เปล่าประโยชน์ จะน้อยหรือมากก็ตาม เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไปแล้ว ชีวิตของบุคคลนั้นย่อมพร่องจากประโยชน์นั้น
ทำไมจึงรวย ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับสุภมาณพ โตเทยยบุตรว่า ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้.
มีอะไรก็เฉย ไม่ลุ้น ไม่ตกใจ
ครั้งแรกๆเมื่อมีอาการแบบนี้ ลูกจะลืมตาทันที ถ้าเมื่อใดที่เกิดขึ้นแบบแรงมากๆ ลูกก็จะนึกถึงมหาปูชนียาจารย์ เพราะลูกรู้สึกว่ามันน่ากลัวมากๆค่ะ แต่ครั้งนี้ลูกได้ชนะสิ่งนี้แล้ว เพียงแค่ลูกหยุด นิ่ง เฉย อย่างเบา สบาย โดยไม่นึกถึงอะไรทั้งสิ้น มีอะไรก็เฉย ไม่ลุ้น ไม่ตกใจ...
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
อานิสงส์รักษาศีลจนตลอดชีวิต
แม้ว่าจะต้องทำงานรับจ้างเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าเพียงใดก็ตาม ท่านจะนึกถึงศีลตนที่ได้ประคองรักษาอย่างบริสุทธิ์ผุดผ่อง จนเวลาล่วงมาถึงหนึ่งแสนปี เมื่อวาระสุดท้ายแห่งชีวิตมาถึง ท่านก็ได้ระลึกถึงศีลของตนเอง ทำให้เกิดมหาปีติว่า “ศีลที่เราสมาทาน และได้รักษาอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ แม้นอนอยู่บนเตียงคนป่วย เราก็มีใจชื่นบาน ไม่หวั่นไหวต่อมรณภัยเลย