บทสวดมนต์พาหุงมหากา พร้อมคำแปล
บทชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา) บทสวดชัยปริตร พร้อมคำแปล วิดีโอนำสวดพาหุง พร้อมภาพประกอบ
โพชฌงค์ ๗ ทางสำเร็จสู่นิพพาน
โพชฌงค์ ๗ อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมยังวิชชาและวิมุตติ ให้บริบูรณ์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธะ น้อมไปในจาคะคือการสละ เจริญธัมมวิจยสัมโพชฌงค์..เจริญวิริยสัมโพชฌงค์...เจริญปีติสัมโพชฌงค์.เจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์...เจริญสมาธิสัมโพชฌงค์..เจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธะน้อมไปในจาคะ โพชฌงค์ ๗ นี้อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้
ธุดงค์ธรรมชัยอัญเชิญพระบรมธาตุประดิษฐาน ณ พุทธอุทยานนานาชาติ จ.หนองคาย ฉลองวิสาขบูชาโลก
ธุดงค์ธรรมชัยอัญเชิญพระบรมธาตุ ประดิษฐาน ณ พุทธอุทยานนานาชาติ จ.หนองคาย ฉลองวิสาขบูชาโลก ในวันที่ 7 - 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยพระสงฆ์ทั่วประเทศ จำนวน 1,000 รูป
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๑)
บุญทั้งหลาย เป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
พระวักกลิเถระ
ชนใดแล มีศรัทธาตั้งมั่น มีฉันทะตั้งมั่นในพระรัตนตรัยโดยส่วนเดียว เลื่อมใสยิ่งแล้ว ไปเพื่อเห็นตถาคตหรือสาวกของตถาคต ภิกษุทั้งหลาย บรรดาการเห็นทั้งหลาย ที่ชนมีศรัทธาตั้งมั่น เลื่อมใสยิ่งแล้ว ไปเพื่อเห็นตถาคตหรือสาวกของตถาคตนั่น ชื่อว่าเป็นศรัทธาที่ยอดเยี่ยม ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย
ทำให้ถูกหน้าที่
คนพาลทั้งหลายผู้ไม่ถูกผูกมัด กล่าวขึ้นในที่ใด ย่อมถูกผูกมัดในที่นั้น ส่วนบัณฑิต แม้ถูกผูกมัดแล้ว กล่าวขึ้นในที่ใด ก็หลุดพ้นได้ในที่นั้น
ผู้นำประโยชน์สุขมาให้แก่ชาวโลก
ผู้ใดเป็นคนฉลาด แกล้วกล้า เป็นพหูสูต ทรงธรรม และเป็นผู้ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม ผู้เป็นเช่นนั้นท่านเรียกว่า เป็นผู้ยังหมู่ให้งดงาม
ภูมิของพระอนาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สมณะที่ ๓ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้ มีความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ อย่าง เป็นโอปปาติกะ ปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับมาจากโลกนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยบุคคลนี้คือ สมณะที่ ๓ ในพุทธศาสนา
อานิสงส์มีเพื่อนดี
บุคคลไม่ควรคบปาปมิตร ไม่ควรคบบุรุษต่ำช้า ควรคบกัลยาณมิตร ควรคบบุรุษสูงสุด
อานิสงส์ถวายเครื่องอัฏฐบริขาร
มหาสมุทรไม่อิ่มด้วยน้ำที่ไหลมาจากทุกทิศทุกทาง ไฟไม่อิ่มด้วยเชื้อ พระราชาไม่ทรงอิ่มด้วยราชสมบัติ คนพาลไม่อิ่มด้วยบาป หญิงไม่อิ่มด้วยของ ๓ อย่าง คือ เมถุนธรรม เครื่องประดับ และการคลอดบุตร พราหมณ์ไม่อิ่มด้วยมนต์ ผู้ได้ฌานไม่อิ่มด้วยวิหารสมาบัติ คือการเข้าฌาน พระเสขะไม่อิ่มด้วยการสละออกในการให้ทาน