จอมเทพอสูร
ดูก่อนอสูรผู้ใจบาป เราทั้งปวงนี้มีความประสงค์จะขออภัย ไยท่านกล้ามาให้ซึ่งภัยเสียเล่า เราใคร่จะขอรับแต่อภัยอย่างเดียว เมื่อท่านมาให้ภัยกระนี้ เรามิรับดอก ภัยนั้นจงตกอยู่กับตัวท่านเองเถิด สัมพรอสูรเอ๋ย
เปรต ๑๒ ตระกูล (๓)
บุคคลผู้ทำบาปย่อมเดือดร้อนในโลกนี้ ย่อมเดือดร้อนในโลกหน้า ย่อมเดือดร้อนในโลกทั้งสอง บุคคลผู้ทำบาปนั้น ย่อมเดือดร้อนว่า บาปอกุศลเราทำไว้แล้ว บุคคลผู้ทำบาปนั้น ไปสู่ทุคติแล้ว ย่อมเดือดร้อนอย่างยิ่ง
เลิกเหล้าได้แต่เลิกเที่ยวบาร์ไม่ได้ควรทำอย่างไรดี
ถ้าเป็นผู้ชายแล้วยังเจ้าชู้ ชอบเที่ยวบาร์ เที่ยวคลับ เที่ยวย่ำยีผู้หญิง เดี๋ยวมันก็ได้กลับไปเข้าวงจรเดิมอีกคือต้องมาเกิดเป็นผู้หญิงอีก วงจรชีวิตจะเป็นอย่างนี้
ขัลลฏิยชาดกว่าด้วยความหลงผิดลุ่มหลงในอบายมุข
ขัลลฏิยชาดก เป็นเรื่องความหลงผิดของสตรีนางหนึ่ง ซึ่งนางหลงประกอบมิจฉาชีพและทำจนคุ้นชิน ความสำนึกในบาปบุญคุณโทษก็หมดสิ้นไป เมื่อได้มาในสิ่งที่ต้องการ ก็ยิ่งหลงทำผิด ทำบาปเพิ่มมากยิ่งขึ้น จนเป็นเหตให้นางไปเกิดเป็นนางเวมานิกเปรต
กรรมใดทำให้พยาบาลหาเส้นเลือดของลูกชายไม่เจอต้องถูกแทงทั้งแขนและขาเป็นสิบๆ เข็ม
ผลบุญผลกรรมของการขี้โมโหทั้งก่อนและหลังทำบุญ คือ จะต้องไปเกิดเป็นยักษ์อีกแต่จะเป็นยักษ์มีระดับขึ้น คือ ยักษ์ไฮโซ ยักษ์หล่อ ยักษ์สวย ด้วยบุญที่ทำด้วยจิตที่มักโกรธ แต่ถ้าแก้ไขได้โดยเด็ดขาด ก็มีสิทธิ์ไม่ต้องเป็นยักษ์
ทำกรรมอะไรตายแล้วไปเป็นเปรต
เปรตบางจำพวกอาศัยปะปนอยู่กับภพมนุษย์ แต่เป็นภพที่ละเอียดกว่า ซึ่งมนุษย์มองไม่เห็น แต่ไม่ได้หมายความว่าเปรตนั้นไม่มี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสยืนยันเรื่องเปรตนี้ว่ามีจริง และทรงรู้ถึงการกระทำที่จะนำไปเป็นเปรต ดังมีกล่าวไว้ใน มหาสีหนาทสูตร
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2554” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๒)
ทุกชีวิตล้วนมีการแสวงหา บ้างแสวงหาปัจจัยสี่เพื่อใช้ในการดำรงชีวิต บ้างแสวงหาทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ซึ่งเป็นโลกียทรัพย์ภายนอก แต่จะมีใคร
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (2)
ผู้ใดมีความเชื่อในตถาคต ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว มีศีลอันงามที่พระอริยะสรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่า ไม่เป็นคนขัดสน ชีวิตของผู้นั้นไม่เปล่าประโยชน์ เพราะเหตุนั้น ผู้มีปัญญาเมื่อนึกถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ปสาทะ และความเห็นธรรมเนืองๆ เถิด
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๓)
จากเรื่องนี้ เราจะเห็นได้ว่า แม้เราจะทำหน้าที่อย่างสมบูรณ์ที่สุด ก็อาจเกิดการเข้าใจผิดกัน ไม่เว้นแม้กระทั่งพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้ว ฉะนั้น การเข้าใจผิดจึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ง่าย และพร้อมจะเกิดขึ้นเสมอในสังคมโลกปัจจุบัน เรื่องราวที่เกิดขึ้นนี้ พวกเราทุกคนควรนำไปเป็นข้อคิดว่า