ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
ตามเห็นกายในกาย
ข้าแต่พระโคดม หม่อมฉันเป็นผู้อันพระองค์ให้เกิดแล้ว รูปกายของพระองค์นี้ หม่อมฉันทำให้เจริญเติบโต ส่วนพระธรรมกายอันน่ารื่นรมย์ของหม่อมฉัน พระองค์ทำให้เจริญเติบโตแล้ว หม่อมฉันให้พระองค์ดูดดื่มน้ำนม อันระงับเสียได้ซึ่งความอยากชั่วครู่ แม้น้ำนม คือ พระสัทธรรมอันสงบ ระงับความกระหายทุกอย่าง พระองค์ก็ให้หม่อมฉันดูดดื่มแล้ว
มูลกรรมฐาน กรรมฐานบทแรกของภิกษุผู้บวชใหม่ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
มูลกรรมฐาน คืออะไร มีความสำคัญประการใด ทำไมพระอุปัชฌาย์ทุกองค์จะต้องบอกมูลกรรมฐานแก่ภิกษุผู้บวชใหม่ทุกครั้ง ... มาหาความรู้กันได้ที่นี่ค่ะ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
ฝึกใจให้หยุดนิ่ง
ท่านทั้งหลายพึงทำความเพียรเครื่องเผากิเลส พระตถาคตทั้งหลายเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอก เหล่าชนผู้ดำเนินตามแล้ว มีปกติเพ่งพินิจ ย่อมหลุดพ้นจากเครื่องผูกแห่งมารได้
พระนันทกเถระ (๒)
ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้เป็นสาวกของเรา พระนันทกะเป็นเลิศทางด้านให้โอวาทแก่ภิกษุณีสงฆ์
อานุภาพเนรุบรรพต
การอยู่ในประเทศที่เหมาะสม เป็นมงคลอันสูงสุด
สามัคคีธรรม
ความพร้อมเพรียงของหมู่ ให้เกิดสุข การสนับสนุนผู้พร้อมเพรียงกัน เป็นเหตุแห่งความสุข บุคคลผู้ยินดีในความพร้อมเพรียง ตั้งมั่นอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ นรชนผู้สมานหมู่คณะ ให้พร้อมเพรียงกันแล้ว ย่อมบันเทิงในสุคติสวรรค์ตลอดกัป
มรณสติ นำชีวิตสู่หลักชัย
ในอดีตกาล เมื่อพระโพธิสัตว์เกิดเป็นชวนหงส์ ซึ่งเป็นหงส์ที่มีความเร็วมาก มีหงส์เก้าหมื่นเป็นบริวาร อาศัยอยู่ ณ ภูเขาจิตตกูฏ ทุกวันจะพาบริวารบินออกหากินเมล็ดข้าวที่เกิดเองตามธรรมชาติ วันหนึ่งลูกหงส์ทอง ๒ ตัว ซึ่งเป็นน้องเล็กของพระมหาสัตว์ ปรึกษากันว่า ทั้งสองจะทดสอบบินแข่งกับพระอาทิตย์ดูว่า ระหว่างดวงอาทิตย์กับหงส์ ใครจะเร็วกว่ากัน จึงได้ขออนุญาตพระมหาสัตว์
การเจริญมรณานุสติ
ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ทั้งคนโง่และคนฉลาด ทั้งคนจนและคนรวย ล้วนบ่ายหน้าไปหามฤตยูทั้งสิ้น
ดินแดนสุขาวดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์