วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๓)
ในระหว่างทางอาจมีปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เกิดขึ้นบ้าง แต่สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเครื่องพิสูจน์กำลังใจของเราเท่านั้น บางปัญหาเราแก้ไขได้
ลักษณะมหาบุรุษ (๓)
เวลาธรรมกาย เป็นเวลาที่ทรงคุณค่าที่ทุกท่านจะได้เจริญสมาธิภาวนาร่วมกัน เพื่อกลั่นกาย วาจา ใจของเรา
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_2
พระตถาคตเจ้าทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นมาก็ เพื่อประโยชน์สุขแก่คนหมู่มาก ทรงบำเพ็ญประโยชน์ทั้งแก่สตรี และบุรุษ ผู้ทำตามคำสอนของพระองค์
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (3)
รสเหล่าใดมีอยู่ในแผ่นดิน สัจจะเป็นรสที่ยังประโยชน์ให้สำเร็จกว่ารสเหล่านั้น เพราะว่าสมณพราหมณ์ผู้ตั้งอยู่ในสัจจะย่อมข้ามพ้นฝั่งแห่งชาติและมรณะได้
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - มุ่งสู่โลกุตรธรรม
พระฤๅษีจิตตบัณฑิตมีความสุขในฌาน อยากจะให้น้องชายได้รับรสแห่งความสุขภายในบ้าง จึงเหาะมาลงที่พระราชอุทยาน ท่านได้แต่งเพลงแก้ให้หนูน้อยคนหนึ่ง เอาไปขับร้องให้พระราชาฟัง หนูน้อยก็รีบวิ่งไปเฝ้าพระราชา แล้วร้องเพลงถวายว่า
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ชนะโทสะ ด้วยอโทสะ
เมื่อธรรมเทพบุตร เห็นอธรรมเทพบุตรไม่ให้หนทางแน่แล้ว จึงกล่าวว่า ถ้า หากท่านเป็นผู้กระหายในสงคราม ชอบใจในการล้างผลาญ แม้ผู้หลักผู้ใหญ่และครูของท่านที่จะคอย ตักเตือนท่านก็ไม่มี เราธรรมเทพบุตรก็จะขอยอมเป็นผู้ให้หนทางแก่ท่านเอง เราจะไม่ขุ่นมัว แต่จะทำใจให้เปี่ยมไปด้วยความรักและปรารถนาดี
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้
มงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - ถนอมน้ำใจกันไว้
เรื่องความน้อยอกน้อยใจนี้เป็นอันตรายมาก บาง ครั้งการแสดงความหวังดีกับผู้ที่เรารัก กลับไม่ได้รับความเข้าใจเท่าที่ควร เรื่องทำนองนี้เกิดขึ้นมาแล้วหลายยุคหลายสมัย แม้ในสมัยพุทธกาลก็เคยเกิดขึ้น
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - ผลแห่งอริยวาจา
วาจาที่เปล่งออกจากปาก จะทำให้เป็นบุญเป็นกุศลก็ได้ หรือเราจะให้เป็นหอก เป็นเข็มที่มาทิ่มแทงจิตใจคนอื่นก็ได้ แต่บัณฑิตนักปราชญ์ทั้งหลาย ท่านจะใช้วาจาเป็นประดุจดอกไม้หอม เพื่อบูชาพระรัตนตรัย วาจาอย่างนี้แหละชื่อว่า อริยวาจา วาจาที่ประเสริฐ ที่เป็นทางมาแห่งความเป็นพระอริยเจ้า เป็นวาจาที่สามารถเปลี่ยนตัวเราเอง ดังเรื่องของพระอธิมุตตเถระ
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - โคนันทวิสาล
จะเห็นได้ว่า การกล่าววาจาทุพภาษิต เช่น คำหยาบ คำด่านั้น ไม่ดีเลย เหมือนที่พราหมณ์พูดกับโคนันทิวิสาล ในการเดิมพันครั้งแรก ทำให้ต้องเสียทรัพย์แก่เศรษฐีและอับอายขายหน้า แต่ครั้นพราหมณ์กล่าวถ้อยคำที่ไพเราะเสนาะหู และเสริมสร้างกำลังใจให้แก่กัน ก็สามารถกู้ชื่อเสียงกลับคืนมาได้ และยังได้ทรัพย์สินอีกมากมาย เพราะคำพูดที่ไพเราะนั้นมีฤทธิ์ มีอานุภาพ