เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๓)
ชีวิตหลังความตายยังเป็นความมืดมนสำหรับมนุษย์ทั้งหลาย เพราะยังไม่ได้รู้แจ้งในโลกทั้งปวง มนุษย์มากมายต่างก็ปรารถนาจะไปสวรรค์ เพราะรู้ว่าสวรรค์เป็นดินแดนแห่งการเสวยสุข
หมดทุกข์สุขสุดแล้ สุขล้ำกว่าสวรรค์
ลูกตั้งใจปฏิบัติธรรมต่อไป เพราะเวลาชีวิตเหลือน้อย ต้องติวเข้มเต็มที่ ลูกปรารถนาพระธรรมกายภายในเป็นที่พึ่ง พระธรรมกายภายในช่วยประดับประดาชีวิตลูกให้มีความสุข การได้นั่งสมาธิ ได้เพลินอารมณ์ชมธรรมชาติในสถานที่ปฏิบัติธรรม และทำกิจกรรมต่างๆ ช่วยให้มีความสุข สงบ สบาย บันเทิงเริงอารมณ์
สวนพนาวัฒน์ดินแดนการเข้าถึงธรรม
สวนพนาวัฒน์แห่งนี้เหมาะ ในการปฏิบัติธรรมเป็นอย่างยิ่งและสถานที่แห่งนี้มีสิ่งสำคัญ สี่ประการ คือ สถานที่ดี อาหารอร่อย สามารถเข้าถึงธรรมะ และ มีธรรมะที่ง่ายต่อการเข้าถึง ที่เรียกว่า
จิตแพทย์ชี้ภาพ เสียง เหตุรุนแรงทำเด็กซึมซับ เลียนแบบ แนะวิธีทำความเข้าใจให้"ลูก" เวลาดูข่าวการเมือง
"เจสัน บอร์น"ใจบุญ บริจาคความช่วยเหลือเหยื่อเฮติ
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_2
พระตถาคตเจ้าทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นมาก็ เพื่อประโยชน์สุขแก่คนหมู่มาก ทรงบำเพ็ญประโยชน์ทั้งแก่สตรี และบุรุษ ผู้ทำตามคำสอนของพระองค์
ผมไปตามหาดวงแก้วที่สวนป่าหิมวันต์
ตอนนี้ผมเข้าใจแล้วครับว่า สิ่งต่างๆเหล่านี้ ผมไม่สามารถคิดไปเองได้ หรือเพ่งจ้องเข้าไปได้ ต้องปล่อยวางให้ใจหยุดนิ่งละเอียดแล้วจะเห็นเอง...ในรอบต่อๆมา บางรอบผมเห็นเป็นดวงแก้วใสๆ หรือองค์พระใสๆหันหน้าออกจากตัวของผมก็มี มีอยู่ครั้งหนึ่ง ผมเห็นตัวเองกำลังนั่งสมาธิอยู่ ใส่ชุดขาว รู้สึกดูดีกว่าตัวจริงของผมเสียอีก
พลิกวิกฤต..เพราะคิดบวช
ในชีวิตของมนุษย์นั้น ช่วงเวลาที่กล่าวได้ว่า เป็นวิฤตที่สุดของชีวิต ก็คือ ช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต นั่นคือ ช่วงเวลาที่เราต้องเผชิญกับความตาย ซึ่งทุกท่าน ๆ ทราบดีอยู่แล้วว่า ทุกท่านนั้นต้องเผชิญกับช่วงเวลาวิกฤตนี้อย่างแน่นอน
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ