มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๓ ( ปัญญาประเสริฐกว่าทรัพย์ )
เสนกะทูลว่า " ข้าแต่พระมหาราชเจ้า มโหสถยังเด็ก แม้ทุกวันนี้ปากของเธอยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม มโหสถจะรู้อะไร ฝูงนกบินไปบินมาตามต้นไม้ในป่าที่มีผลดกฉันใด ชนเป็นอันมากย่อมคบหาสมาคมผู้มั่งคั่งมีโภคทรัพย์มาก เพราะความต้องการด้วยทรัพย์ ฉันนั้น เพราะฉะนั้น คนมีสิริสมบัติเท่านั้นเป็นคนประเสริฐ "
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๔ )
เรามักจะเห็นเศรษฐีที่ตระหนี่ในการบริจาค แต่ตัวเองใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย แม้ของกินของใช้จะแพงแค่ไหน ก็กล้าทุ่มเงินซื้อหามา แสวงหาเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้คนเขาชื่นชมว่า ตัวเองเป็นคนรํ่ารวย แต่เศรษฐีท่านนี้กลับตระหนี่เป็นอย่างมาก จึงเป็น สิ่งที่พวกเราควรศึกษาว่า ทำอย่างไร ท่านจึงจะเป็นคนรวย ทั้งทรัพย์และน้ำใจ รวยทั้งภพนี้และทุกภพทุกชาติ
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๕ )
แต่ครั้นจะให้ก็กลัวว่า ข้าวปายาสคงไม่เหลือแน่ เพราะมีพราหมณ์ ผู้ไม่ได้รับเชิญ มารอบริโภคภัตของตนถึง ๓ คน แต่ถ้าจะไม่ให้ก็อึดอัด ส่วนความตระหนี่ที่ฝั่งแน่นอยู่ในใจนั้น ก็ยังไม่หลุดออกไปเลยทีเดียว มันรบกันไปรบกันมาอยู่ภายใน ระหว่างให้กับไม่ให้ เมื่อกุศลจิตส่งผลก่อน จึงได้แต่พูดด้วยความลำบากใจว่า
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๑๐ )
ผู้มีปัญญาจะเร่งทำแต่ความดีเพื่ออนาคตที่ดีและสิ่ง ที่พึงปรารถนา โอกาสในการทำความดีในโลกนี้ไม่ใช่ของหาง่าย เราจึงต้องฉลาดใช้ทุกสถานการณ์ในการสร้างบารมีให้ได้ ให้รู้จักเปลี่ยนวิกฤติมาเป็นโอกาส ให้เปลี่ยนทุกสิ่งทุกอย่างที่ผ่านเข้ามาในชีวิต ให้เป็นบุญให้หมด
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๑ )
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนี้เมื่อชาติก่อนเคยเป็นผู้ไม่ให้ทานมาก่อน เป็นผู้ตระหนี่เหนียวแน่น แม้หยาดน้ำมันเพียงเล็กน้อยก็หวงแหนไม่ยอมให้ใคร ต่อมาเราได้ทรมานเธอ กระทำให้หมดพยศ พรรณนาผลแห่งการให้ทาน และให้ตั้งอยู่ในทาน เธอจึงหันกลับมาให้ทานอีกครั้งหนึ่ง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้เคยได้รับพรในสำนักของเราว่า แม้ได้น้ำมาเล็กน้อยเพียงซองมือหนึ่ง หากมิได้ให้ทาน จักไม่ดื่มน้ำนั้น ด้วยผลแห่งการที่ได้รับพรในสำนักของเรานี้ เธอจึงเป็นผู้มีอัธยาศัยในการให้ทาน
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 12
พระมหาชนกโพธิสัตว์ได้ทรงผ่านบดทดสอบ และสามารถไข้ปัญหาแห่งขุมทรัพย์ได้ครบทั้ง ๑๖ ข้อ ได้ครองราชสมบัติด้วยพระอัจฉริยภาพอย่างเต็มภาคภูม
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - พฤติกรรมที่ชักนําให้เสื่อม
เรื่องนี้มีข้อคิดหลายอย่าง ทั้งเรื่องกฎ แห่งกรรม ความสำคัญของใจในช่วงสุดท้ายตอนศึกชิงภพ และเรื่องความฉลาดในการสอบสวน จนสามารถรู้ถึงเหตุที่แท้จริงจากผลที่เกิดขึ้น เรื่องการเป็นคนช่างสังเกต รู้ว่าใครเป็นพาล เป็นบัณฑิต เป็นมิตรหรือศัตรู
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 3
ท่านเสนกะนิ่งตรวจดูทิศอันเป็นมงคลอยู่ครู่หนึ่ง ด้วยกำลังคำนวณตามพยากรณ์ศาสตร์ที่ตนได้ร่ำเรียนมา ไม่ช้าก็กราบทูลทำนายประหนึ่งเห็นด้วยตาทิพย์ว่า“วันนี้เป็นวันที่บัณฑิตนั้นถือปฏิสนธิในครรภ์มารดา หรือมิฉะนั้นก็คงเป็นวันที่เขาคลอดจากครรภ์มารดา พระเจ้าข้า”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 39
ท้าวเธอจึงตรัสว่า “ก่อนนั้นเราได้ฟังกิตติศัพท์ของเธอแล้ว ก็เกิดความเลื่อมใส ยิ่งได้เห็นท่วงทีกิริยาวาจาของเธอ ก็ดูน่ารักน่าชื่นใจไปเสียทั้งหมด แต่ครั้นได้เห็นการกระทำของเธอเมื่อสักครู่ ความชื่นใจที่เคยมี ก็พลันสิ้นไปชั่วพริบตา บอกตามตรงว่า เราทั้งเสียใจและผิดหวังในตัวเธอมาก”