มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - วจีกรรมนำสู่นิพพาน
เราเป็นผู้มีปกติกล่าวสรรเสริญพระชินวรเจ้าทุกเมื่อ เพราะ กรรมนั้น เราจึงเป็นผู้มีร่างกายและกลิ่นปากหอม เพียบพร้อมด้วยความสุขมีปัญญากล้า มีปัญญาร่าเริง มีปัญญาไว มีปัญญามากและมีปฏิภาณอันวิจิตร
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้ข้ามพ้นวัฏฏะ
ครั้นพระบรมศาสดา ทรงแก้ปัญหาอันลุ่มลึกที่ปุณณกะได้ทูลถามแล้ว ปุณณกะเป็นผู้มีดวงปัญญาสว่างโพลง เป็นปัญญาบริสุทธิ์ที่เข้าใจเนื้อความของพระผู้มีพระภาคเจ้าได้อย่างแจ่มแจ้ง ท่านมีธรรมจักษุบังเกิดขึ้น ทั้งจักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา อาโลโก แสงสว่างที่ไม่มีประมาณได้ขจัดความมืดในจิตใจของท่านให้หมดสิ้นไป จนสามารถรู้แจ้งเห็นจริงในสรรพสิ่งทั้งหลายไปตามความเป็นจริงได้ และกิเลสอาสวะถูกขจัดไป สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในครั้งนั้น
น้ำศักดิ์สิทธิ์ แก้วิบากกรรม
“น้ำศักดิ์สิทธิ์” ความเชื่อที่เป็นมีอยู่ในหลายชนชาติ ศาสนา แม้แต่ชาวพุทธเอง บางคนก็ยังแสวงหาว่า น้ำมนตร์วัดไหนดัง ศักดิ์สิทธิ์ ดั้นดันไปเอามาอาบดื่มกิน
การบวชที่ถูกหลักวิชชา
ถ้าบวชแล้วมีความรู้สึกว่ายังไม่ได้อะไรก็ต้องกลับมาบวชใหม่ มาบวชทบทวน ซ้ำ...ซ้ำ...ซ้ำ จนกระทั่งเราได้ความรู้และความรู้สึกปลื้ม พอที่จะออกไปคุ้มครองตัวเองได้ที่จะดำเนินชีวิตได้ถูกต้อง
โทษของความประมาท
บุคคลใดประมาทในกาลก่อน แล้วกลับมาไม่ประมาทในภายหลัง เขาย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง กระจ่างดังพระจันทร์เฉิดฉายในนภากาศ
เราเกิดมาเพื่ออะไร
คำถาม : คนเราเกิดมาเพื่ออะไรครับ
พหูสูต ความรู้ คู่ คุณธรรม!
...บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ นั้น หากใช้ในทางที่ดีก็เป็นเรื่องที่น่ายกย่อง หลักธรรมใดบ้างที่จะช่วยให้คนทั้งคนเก่ง และดีมีคุณธรรม
ชัยชนะครั้งที่ 7 (ตอนที่ 1 ชนะนันโทปนันทนาคราช)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจอมมุนี ทรงโปรดให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส ไปปราบนันโทปนันทนาคราช ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก ด้วยวิธีให้แสดงฤทธิ์ ทรมานให้สิ้นฤทธิ์ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงเกิดมีแก่ท่าน
รู้ทันวิบากกรรม
ความรู้เรื่องกฎแห่งกรรมจากรายการโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา มีคุณค่าอันประมาณมิได้ เป็นประโยชน์อันยิ่งใหญ่กับคนที่เคยผิดพลาดมาในอดีต เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างบารมีต่อไป เรื่อวราวของชีวิตหลังความตาย วิธีแก้ไขวิบากกรรม
The Noble Truth of Suffering Every living being is a victim of suffering
The Lord Buddha explained the nature of suffering in detail. The Pali word for ‘suffering’ is ‘dukkha’