ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
มูลนิธิธรรมกายมอบอาหารและเครื่องดื่มเพื่อบริการประชาชน
มูลนิธิธรรมกายมอบอาหารและเครื่องดื่มเพื่อบริการประชาชนในงานรวมใจเครือข่ายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
กมธ.ศาสนาฯ ช่วยวัดน้ำท่วม
คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร ลงพื้นที่จังหวัดสิงห์บุรี เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม
กมธ. การศาสนาฯ วอนสื่อยกเลิกใช้คำ "อรหันต์-ไอ้เณร"
คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร ขอความร่วมมือสื่อมวลชนให้ยกเลิกใช้คำว่า อรหันต์และไอ้เณร
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
พลังแห่งรัก พลังแห่งวัฒนธรรม
กระทรวงวัฒนธรรม แถลงข่าวการจัดงานพลังแห่งรัก พลังแห่งวัฒนธรรม เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนราธิวาส จัดกิจกรรมอบรมเยาวชนศาสนิกสัมพันธ์
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนราธิวาส ได้จัดกิจกรรมอบรมเยาวชนศาสนิกสัมพันธ์ ภายใต้โครงการขยายผลศาสนิกสัมพันธ์จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2568
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
บุกห้องทำงาน ซิคเว่ เบรคเก้ เมื่อ "งาน" กับ "พักผ่อน" กลายเป็นเรื่องเดียวกัน
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก