พระมหากัจจายนะ
พระมหากัจจายนะมิเพียงเปี่ยมด้วยคุณสมบัติและทรัพย์สมบัติ แต่ท่านยังเลิศด้วยรูปสมบัติ คือมีผิวพรรณละเอียดอ่อนผุดผ่องดุจทองคำ และมีรูปร่างสง่างามคล้ายคลึงกับพระบรมศาสดา จนทำให้หลาย ๆ คนเข้าใจผิดว่าท่านคือพระบรมศาสดาเหลือเชื่อแต่เป็นความจริงดังต่อไปนี้...
ครั้งหนึ่งในชีวิต..เราต้องเป็นประธานกองกฐินให้ได้
บางคนบอกว่า.. "ขอให้มีเงินเถิด จะทอดกฐินเมื่อไรก็ทอดได้" อีกทั้งยังบอกต่อว่า.. "เรารวยและมีศรัทธาจะกลัวอะไร ถ้าเราเตรียมปัจจัยและผ้าไตรไว้ให้มาก ๆ อย่างไรที่วัดเขาก็ต้องรับเราเป็นประธานกองกฐินอยู่ดี" แต่เชื่อไหม?...ความคิดเช่นนี้ถือเป็นความเข้าใจที่ผิดมาก!!!
กฐินธรรมชัย ทำก่อน รวยก่อน บรรลุก่อน
ช่วงนี้ก็ใกล้ถึงบุญใหญ่อีกบุญ คือบุญกฐินธรรมชัย วันนี้พระอาจารย์ก็จะมีเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการสร้างบุญกฐินมาให้ทุกท่านได้รับฟังกัน....
The Photo Collection of the Ceremonies of Apologizing and Receiving the Saffron Robes
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน The Lord Buddha Part 3
ติดตามเรื่องเกี่ยวกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า The Lord Buddha's History Part #3 ประวัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 3 การออกผนวชของท่านค่ะ
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น
ธุดงค์ คือ อะไร
ธุดงค์ คืออะไร หลังออกพรรษาก็ถึงคราที่พระภิกษุสงฆ์จะเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆ เพื่อหาสถานที่อันสัปปายะ เพื่อเจริญสมณธรรม รวมทั้งเผยแผ่ธรรม ซึ่งเรามักจะได้ยินว่าออก ‘ธุดงค์’
ธุดงค์ธรรมชัย ทุกย่างก้าวบำเพ็ญสมณธรรม
ธุดงค์ธรรมชัย ทุกย่างก้าวบำเพ็ญสมณธรรม ตามที่ได้เคยพบเห็นพระธุดงค์กันมาแต่โบราณ พระธุดงค์ต่างเดินจาริกเข้าไปในป่า ปักกลดบำเพ็ญสมณธรรมในป่า อาจจะดูแปลกๆ ที่โครงการธุดงค์ธรรมชัยบนเส้นทางมหาปูชนียาจารย์ ปีที่ 3 นี้กลับเดินเข้าไปในระแวกชุมชน
คำขอบวช แบบเอสาหัง
คำขอบวช แบบเอสาหัง วิธีอุปสมบทแบบเอสาหัง บทสวด พิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง) ขั้นตอนและบทที่ต้องท่องจำใช้ในพิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง)
ธุดงค์ เป็นวัตร แต่ไม่เป็นศีล
“ธุดงค์” เป็นวัตรไม่ใช่ศีล เป็นข้อแนะนำให้ปฏิบัติเพื่อฝึกตัว ไม่ใช่ข้อบังคับว่าต้องทำ แบ่งเป็น 3 หมวด คือ จีวร อาหาร และ สถานที่