ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในจีน
จากอดีตที่ผ่านมา ยุคใดที่กษัตริย์จีนเลื่อมใสพระพุทธศาสนา พุทธศาสนาก็จะได้รับการฟื้นฟูและเจริญรุ่งเรือง.....แต่ยุคใดที่กษัตริย์ยกย่องพระพุทธศาสนาเพียงบางคราวเพื่อผลทางการเมืองหรือนับถือลัทธิความเชื่ออื่น พุทธศาสนาก็จะเสื่อมโทรมหรือถูกทำลาย
สุดเค็ม, เมื่อไม่สนก็เป็นลมเป็นแล้ง
อุทาหรณ์ของการจองเวร...ผู้หญิงคนหนึ่ง หลังจากแยกทางกับสามีคนแรก เธอก็ตัดสินใจไปทำงานที่ฮ่องกง และได้แต่งงานกับสามีคนใหม่ที่นั่น เธอกับลูกเลี้ยง ไม่ลงรอยกันเหมือนกับโกรธเกลียดกันมานาน ลูกเลี้ยงมักจะด่าทอเธอด้วยคำหยาบคายเป็นประจำ ตอนแรกเธอไม่เข้าใจความหมาย แต่พอเข้าใจ ก็เริ่มด่าตอบโต้ เป็นไม้เบื่อไม้เมากันมาตลอด...น้องชายของเธอ หลังจากต้องออกจากงาน ก็หารายได้ด้วยการออกเงินกู้ โดยให้ภรรยาเป็นคนทวงหนี้ ต่อมา เขาและภรรยาได้ถูกลูกหนี้ฆ่าตายอย่างโหดเหี้ยม...ทั้งสองเรื่องเกิดจากการจองเวรกันมาข้ามชาติ
ประมวลภาพ ! พิธีตักบาตรพระ 15,000 รูป ครั้งแรกครั้งประวัติศาสตร์ ที่จตุจักร Update!
พิธีตักบาตรพระ 15,000 รูป ถวายเป็นพุทธบูชา เพื่อรักษาวัฒนธรรมชาวพุทธ และช่วยเหลือคณะสงฆ์ 286 วัด 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้
พระมหากัจจายนะกับการออกแบบชีวิตให้มีผิวพรรณวรรณะงดงาม
พระมหากัจจายนะเป็นอีกหนึ่งเรื่อง ที่เป็นแบบอย่างในการออกแบบชีวิตของเราให้มีผิวพรรณวรรณะที่งดงาม เพื่อไม่ให้มีปัญหาเรื่องการเหยียดผิว หรือการแบ่งชนชั้นวรรณะที่เป็นปัญหาคู่โลก
วัดพระธรรมกายฟลอริดา จัดงานฉลองครบรอบ 7 ปี
คณะกัลยาณมิตรวัดพระธรรมกายฟลอริดา และ วัดภาวนาเซาท์ฟลอริดา กว่า 80 ท่าน ได้ร่วมกันสั่งสมบุญเนื่องในวาระครบรอบ 7 ปี วัดพระธรรมกายฟลอริดา
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)
หลวงปู่วัดปากน้ำให้ความสำคัญกับการเรียนการสอนพระบาลีอย่างไร ?
หลวงปู่วัดปากน้ำมีความสำคัญต่อการศึกษาและการสอนพระบาลี สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมเพื่อพัฒนาการศึกษาพระบาลี มีนักเรียนจำนวนมาก และยกย่องผู้ที่มีความพยายามในการศึกษาบาลี
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (1)
ดูก่อนเจ้าลิจฉวี ความปรากฏขึ้นแห่งรัตนะ ๕ หาได้ยากในโลก รัตนะ ๕ คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑ บุคคลผู้แสดงธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว ๑ บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้วอันผู้อื่นแสดงแล้ว ๑ บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้วอันผู้อื่นแสดงแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ กตัญญูกตเวทีบุคคล ๑ ดูก่อนเจ้าลิจฉวีทั้งหลาย ความปรากฏแห่งรัตนะ ๕ ประการนี้แล หาได้ยากในโลก
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (2)
ผู้ใดมีความเชื่อในตถาคต ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว มีศีลอันงามที่พระอริยะสรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่า ไม่เป็นคนขัดสน ชีวิตของผู้นั้นไม่เปล่าประโยชน์ เพราะเหตุนั้น ผู้มีปัญญาเมื่อนึกถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ปสาทะ และความเห็นธรรมเนืองๆ เถิด