สำนักเรียนวัดสร้อยทอง จัดพิธีปัจฉิมนิเทศอบรมบาลี
สำนักเรียนวัดสร้อยทอง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร จัดพิธีปัจฉิมนิเทศโครงการอบรมบาลีก่อนสอบสนามหลวง ระดับชั้นเปรียญธรรมประโยค 6 ถึงประโยค 9
ต้นแบบประชาธิปไตยมาจากไหน
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยพุทธกาลเป็นประชาธิปไตยหรือไม่ครับ
อยากเป็นคนพิเศษ
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าถ้าหากว่าเราอยากเป็นคนพิเศษต้องทำอย่างไรคะ
อยากมีชีวิตที่เจริญ
คำถาม : ผมให้เงินแม่ทุกเดือน แต่ทำไมอาชีพการงานผมไม่ดีขึ้นเลยครับ ต้องทำอย่างไรจึงจะดีขึ้นครับ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๓)
ผู้เขียนและคณะทีมงานของสถาบันฯมีความปลื้มปีติที่ได้แสดงความกตัญญูตอบแทนและประกาศเกียรติคุณของพระเดชพระคุณ-พระเทพญาณมหามุนี วิ. (หลวงพ่อธัมมชโย) ที่เป็นองค์สถาปนาสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยซึ่งท่านมีมโนปณิธานมาเป็นเวลากว่า ๓๕ ปีว่าน่าจะมีใครสักคนหรือหลาย ๆ คนในองค์กรทำการค้นคว้าหาหลักฐานคำสอนดั้งเดิมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเฉพาะเรื่องธรรมกายเพื่อทำความจริงให้ปรากฏ
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
ทำไมต้องสั่งสมบุญบ่อยๆ
ทำไมต้องทำบุญบ่อย ๆ หรือ? คนที่มีทรัพย์น้อยบางคนไม่เข้าวัดเพราะคิดว่าไม่มีเงินทำบุญ จะอธิบายให้เขาฟังอย่างไร? จะทราบได้อย่างไรว่าช่วงไหนบุญเรามากขึ้น ช่วงไหนบุญน้อยลง? ทำอย่างไรถึงจะมีกำลังใจในการสร้างบุญสร้างบารมี?
"ปลื้ม" หัวใจของการสร้างบุญ
คำว่าปลื้มเป็นคำทั่วไปที่เราใช้กันคุ้นเคยแต่ศัพท์ในพระพุทธศาสนาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่าปลื้มก็คงเป็นคำว่า “ปีติ” (ไม่ใช่ปิติ) ปีติมี ๕ ประการ
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang ภาพยนตร์ประวัติชีวิตพระถังซัมจั๋ง
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang เปิดตำนานประวัติบุคคลผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศจีน พระถังซัมจั๋งคือใคร มีประวัติอย่างไร และติดตามตัวอย่างภาพยนต์ฟอร์มยักษ์ เรื่องราวของ “พระถังซัมจั๋ง” ซึ่งเดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎก ณ ชมพูทวีป ซึ่งจะออกฉายในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ที่จะถึงนี้
แนวทางการดำเนินชีวิตให้ประสบความสำเร็จของชาวพุทธเป็นอย่างไร?
มนุษย์ทุกคนต่างก็หวังที่จะประสบความสำเร็จในชีวิตด้วยกันทั้งนั้น แต่การจะดำเนินชีวิตให้ประสบความสำเร็จได้ มีหลักปฏิบัติเบื้องต้น ๒ ประการ คือ...