พบแล้วครับ ความสุขที่ผมปรารถนา
สมณะ แปลว่า ผู้สงบ ผู้มีบาปสงบระงับแล้ว หมายถึงพระสงฆ์ หมายรวมถึงพระอริยบุคคลผู้สิ้นกิเลสแล้วและผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นอริยบุคคล
เหล่ากอสมณะ (2)
“ลูกแก้ว” เป็นภาษาพื้นเมืองทางภาคเหนือ หมายถึง “สามเณร” ผู้เป็นเหล่ากอของสมณะ เป็นศาสนทายาทผู้สืบสานพระพุทธศาสนา และยังมีความหมายถึง “ลูก” ผู้ตระหนักถึงความรัก ความเอาใจใส่ และความหวังดีของพ่อแม่ จึงหมั่นฝึกฝนอบรมตนเอง ให้เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยความรู้และความประพฤติ
พิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระและพระเถระ ครั้งที่ 26
กำหนดการพิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระและพระเถระ ครั้งที่ 26 ประจำปีพุทธศักราช 2563 ในวันอาทิตย์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
ความดีสากลและความรู้สากลจุดความสว่างกลางใจชาวปินอย
วันนี้พวกเราทั้งอาจารย์ใหญ่, คุณครู, นักเรียนชาวปินอยทั้ง 44 ชีวิต รู้สึกตื่นเต้นมากค่ะ ที่ได้รับการคัดเลือกมาร่วมงาน “วันรวมพลังเด็กดี V-Star” ที่ประเทศไทย โดยพวกเราเป็นทีมที่สามารถทำคะแนนสูงที่สุด จากการฝึกความดีสากลและนั่งสมาธิมาต่อเนื่อง จากทุกระดับชั้นการศึกษาค่
หนวดเต่า เขากระต่าย
การบรรพชากระทำได้ยากแท้ การอยู่ครองเรือนเป็นเรื่องยาก ธรรมะเป็นของลึก การหาทรัพย์เป็นของยาก การเลี้ยงชีพของเราด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ เป็นการยาก ผู้มีปัญญาควรคิดถึงอนิจจตาอยู่เนืองๆ
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (2)
ชีวิตนี้น้อยนัก หมู่สัตว์ย่อมตาย แม้ภายใน ๑๐๐ ปี ถ้าแม้สัตว์เป็นอยู่เกิน ๑๐๐ ปีไปไซร้ สัตว์นั้นก็ต้องตายเพราะชราโดยแท้
อย่าด่วนตัดสินใจ
กรรมที่บุคคลใดไม่พินิจพิเคราะห์ ไม่คิดให้ถ้วนถี่เสียก่อน แล้วทำลงไป ผลที่เลวร้ายย่อมมีแก่บุคคลนั้น เหมือนความวิบัติแห่งการใช้ยาพิษฉะนั้น
ภพสาม คุกใหญ่ของสรรพสัตว์
ชนทั้งหลายบางพวก ย่อมเข้าถึงครรภ์ ผู้ทำบาปอกุศล ย่อมเข้าถึงนรก ผู้สั่งสมความดีเป็นเหตุสุคติ ย่อมไปสู่สวรรค์ ผู้ไม่มีกิเลสอาสวะ ย่อมปรินิพพาน
ธุดงค์ธรรมชัย ... การเห็นสมณะเป็นมงคลอย่างยิ่ง
สมณะแปลตรงตัวได้ว่า ผู้สงบ (หมายถึงผู้อยู่ในสมณเพศ) คุณสมบัติของสมณะประกอบด้วย 3 อย่างคือ 1.สงบกาย คือมีความสำรวมในการกระทำทุกอย่าง รวมถึงกิริยา มรรยาท ตามหลักศีลธรรม ... 2.สงบวาจา คือการพูดจาให้อยู่ในกรอบของความพอดี มีความสุภาพสงบเสงี่ยมในคำพูดและภาษาที่ใช้ เป็นไปตามข้อปฏิบัติ ประเพณี ... 3.สงบใจ คือการทำใจให้สงบปราศจากกิเลสครอบงำ ไม่ว่าจะเป็น โลภ โกรธ หลง หรือความพยาบาทใดๆ ตั้งมั่นอยู่ในสมาธิภาวนา