กระทรวงสาธารณสุข เผยประเทศไทย มีการทิ้งขยะอันตรายจากชุมชน ปีละประมาณ 4 แสนตัน
คนไทยทิ้ง "ขยะพิษ" ปีละ 4 แสนตัน โดยปริมาณขยะกว่าครึ่งเกิดในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และภาคกลาง
เรื่องปลื้มๆ จากทวาย ตอนที่ 4
วันนี้อาสาสมัครทวายและไทยแลนด์ ยังคงเดินหน้าเตรียมงานอย่างสนุกสนานบุญบันเทิงค่ะ ทุกคนสวมหัวใจดวงเดียวกัน พูดเรื่องเดียวกัน คิดเรื่องเดียวกัน ทำสิ่งเดียวกัน คือเรื่อง 3 บิ๊กบุญ ถึงแม้ฟ้าฝนจะไม่ค่อยเป็นใจ เพราะตั้งแต่เมื่อวานจนถึงวันนี้ตกๆหยุดๆทั้งวันเลย แต่ไม่ใช่ปัญหา เพราะฝนจะตกก็ตกไป แต่อาสาสมัครทวายไม่ยอมให้ใจตกค่ะ
เรื่องปลื้มๆ จากทวาย ตอนที่ 2
สิ่งอัศจรรย์ในพลังศรัทธาของชาวพุทธเมียนมาร์ ทำให้ทีมงานต้อง...อึ้ง...ทึ่ง…ปลื้ม.. เพราะจากเดิมวางแผนว่าต้องใช้เวลา 1 เดือนสำหรับตอกเสาโคม แต่เนื่องจากสนามกีฬาที่จะตอก มีติดแข่งกีฬาระดับประเทศ จึงทำให้เหลือเวลาเตรียมพื้นที่แค่ 9 วันเท่านั้น
ทวาย...กับวิถีพุทธอันดีงาม
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์ ได้บัญญัติให้ศาสนาพุทธ เป็นศาสนาประจำชาติ เป็นเรื่องที่ทำให้ชาวพุทธภาคภูมิใจ เพราะประชากรในประเทศประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์นับถือศาสนาพุทธ และมีความเชื่อว่าการยึดถือหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ไม่ได้เป็นไปเพื่อการหลุดพ้นเท่านั้น แต่ต้องเอาหลักคำสอนมาใช้ในชีวิตประจำวันด้วย
จีนเจ๋งจัดตั้งชมรมหัวเราะ ไล่อารมรณ์เครียดวิกฤตศก.โลก
เก็บตกความปลื้ม 3 บุญใหญ่เมืองทวาย ตอนที่ 3
กว่าจะมีภาพความสำเร็จในวันที่ 6 พฤศจิกายนที่ผ่านมาได้นั้น ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เลยค่ะ แต่เมื่อทุกอย่างเกิดขึ้นมาได้ จึงทำให้ทุกคนมีความสุขและเกิดการเปลี่ยนแปลงในจิตใจของผู้มีส่วนร่วมทุกคน
จุดเริ่มต้นของความปลื้ม ณ เมืองทวาย
การเตรียมงาน 3 บิ๊กบุญ ในขณะนี้กำลังคึกคักเบิกบานอลังการงานสร้าง ซึ่งทีมอาสาสมัครไทยแลนด์แผนกต่างๆก็เดินทางไปถึงทวายเป็นที่เรียบร้อย และกำลังผนึกพลังกับทีมอาสาสมัครทวายช่วยกันเตรียมงานแบบทุ่มกันสุดตัว เทใจให้กับงานพระพุทธศาสนาอย่างเดียว..ไม่คิดเรื่องอื่นเลย
เกาะติดสถานการณ์ 3 บิ๊กบุญ ณ เมืองทวาย
มิงกาลาบาเช สวัสดีค่ะ วันนี้ผู้สื่อข่าวบุญสว่างมายืนตาสว่างใจสว่างตั้งแต่เช้าที่ถนนอาซานี ถนนสายสำคัญของเมืองที่ถูกเนรมิตให้กลายเป็นลานตักบาตร ซึ่งเมื่อช่วงเช้ามืดวันนี้ยังคงมีฝนเม็ดเล็กๆโปรยลงมาเบาๆ แบบตกๆยั้งๆจนพื้นที่นั่งเปียก เหมือนจะพิสูจน์ใจว่าฝนกับพลังศรัทธาอันไหนจะแน่กว่ากัน
สธ.ส่ง 7 ทีมแพทย์-พยาบาล ดูแลพุทธที่สาธารณรัฐอินเดีย
เทรนด์อนาคตต้องโชว์แผนที่จีโนมก่อนซื้อยา รักษาตามลักษณะพันธุกรรม