ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์ !? ของ 4 ผู้ช้ำรัก
ศาสดาเอกของโลก(๓)
นักปราชญ์บัณฑิตทั้งหลายพิจารณาเห็นว่า การเกิดบ่อยๆ เป็นทุกข์ ความแก่ ความเจ็บและความตายก็เป็นทุกข์ ท่านจึงแสวงหาหนทางพ้นทุกข์
พิธีพระราชทานเพลิงศพ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร,ปธ.๖)
ขอเชิญร่วมพิธีพระราชทานเพลิงศพ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร,ปธ.๖) อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เวลา 17.00 น
เจริญสังฆานุสติ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระสงฆ์
ยมกปาฏิหาริย์
ภูเขาวิบุละ เขากล่าวกันว่าเป็นภูเขาสูงเยี่ยมกว่าภูเขาที่ตั้งอยู่ในพระนครราชคฤห์ เสตบรรพต เป็นเลิศกว่าภูเขาในป่าหิมพานต์ ดวงอาทิตย์เป็นเลิศกว่าสิ่งใดๆ ในนภากาศ มหาสมุทรเป็นเลิศกว่าห้วงมหานที ดวงจันทร์เป็นเลิศกว่าหมู่ดาวทั้งปวง พระพุทธเจ้าเป็นเลิศกว่าสรรพสัตว์ในโลก และเทวโลก
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - คิดก่อน พูดก่อน ทำก่อน ได้ก่อน
กุฎุมพีชื่อว่า เวเทหะ มีทรัพย์สมบัติ ๘๐ โกฏิ เป็นผู้มีศรัทธาในพระพุทธศาสนามากได้เข้าไปถวายนมัสการพระบรมศาสดาและกราบทูลถามว่า "วันพรุ่งนี้ ขอพระองค์ทรงเมตตารับภิกษาของข้าพระองค์เถิด" พระบรมศาสดาตรัสว่า "มี ๖,๘๐๐,๐๐๐ รูป"แม้จะมีพระภิกษุสงฆ์มากมายถึงเพียงนี้ อุบาสกก็ไม่วิตกกังวล กลับมีความปีติเบิกบานใจ ที่จะได้ถวายทานแด่ภิกษุจำนวนมากมายถึงเพียงนั้น
อานิสงส์ถวายเสา ๕ ต้น ร่วมสร้างโรงฉัน
สัตบุรุษย่อมให้ทาน คือ ข้าวและน้ำที่สะอาด ประณีตตามกาล สมควร เนืองนิตย์ ในผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ผู้เป็นเขตดี บริจาคของมากแล้วก็ไม่รู้สึกเสียดาย ท่านผู้มีปัญญาเห็นแจ้งย่อมสรรเสริญทานที่สัตบุรุษให้แล้วอย่างนี้ เมธาวีบัณฑิตผู้มีศรัทธา มีใจอันสละแล้ว บริจาค ทานอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความเบียดเบียนเป็นสุข
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๓)
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ทุกชีวิตย่างสู่วัยเสื่อมและวัยชรา หากเรามองย้อนไปพิจารณาการกระทำของเรามาแล้วพบว่า
เทพบุตรมาร (๑)
บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมถวายข้าว น้ำ เสื้อผ้า ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก ที่อาศัย และสิ่งที่เป็นอุปกรณ์แก่ประทีป ให้เป็นทานแก่สมณะหรือพราหมณ์ เขาย่อมมุ่งหวังสิ่งที่ตนถวายไป โดยได้ศึกษามาว่า “พวกทวยเทพผู้สถิตอยู่ที่สวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี เป็นเทพที่มีอายุยืน มีวรรณะงดงามมาก เต็มเปี่ยมไปด้วยความสุข” ดังนี้แล้ว จึงตั้งจิตปรารถนาอย่างนี้ว่า “โอหนอ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ขอเราพึงเข้าถึงความเป็นสหายแห่งทวยเทพเหล่าปรนิมมิตวสวัตดีเถิด” เขาตั้งจิตนั้นไว้ อธิษฐานจิตไว้มั่น อบรมจิตอย่างนั้นโดยมิได้อบรมเพื่อคุณวิเศษเบื้องสูง อย่างนี้แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อเกิดในสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ