มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มิตรภาพที่ยั่งยืน
พระโพธิสัตว์รู้ว่า นางนกกระเรียนนี้คงน้อยใจและกลัวความผิด จึงปลอบใจโดยตรัสว่า "ผู้ ใดก็ตาม เมื่อผู้อื่นทำกรรมอันชั่วร้ายแก่ตนและตัวเองก็ได้ทำตอบแทนไปแล้ว ก็ย่อมจะรู้สึกว่าเราทำตอบแทนแล้ว ขอให้เวรนั้นสงบลงด้วยอาการเพียงเท่านี้เถิด ท่านจงอยู่ในเมืองนี้ต่อไปเถิด อย่าไปเลย"
ปัญญาชน คบบัณฑิต
ปัญญาชน คบบัณฑิต แม้เพียงครู่เดียว ก็พลันรู้แจ้งพระธรรม เหมือนลิ้นรู้รสแกง
ป้องกันความผิดหวังด้วยการพึ่งตนเอง
เกิดมาเป็นคนควรพึ่งตนเองดีกว่าพึ่งคนอื่น เพราะคนอื่นพึ่งได้เป็นบางอย่าง บางเวลา และไม่ตลอดไป
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - เพื่อนแท้แม้ชีวิตก็แลกได้
กาเมื่อรู้ว่าตนเองตกอยู่ในอันตรายเสียแล้ว ก็ส่งเสียงดังให้งูมาช่วยโดยด่วน งูรีบแผ่พังพานทำท่าจะพ่นพิษร้ายใส่ปูทอง แต่ปูทองกลับใช้ความว่องไว อ้าก้ามอีกข้างหนึ่งหนีบคองูไว้ เมื่องูตกอยู่ในอันตรายก็พิจารณาว่า "ธรรมดาปูจะไม่กินเนื้อกาและเนื้องู แต่เพราะเหตุอะไรหนอ ปูตัวนี้จึงหนีบเราและกาไว้"
พหูสูต ความรู้ คู่ คุณธรรม!
...บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ นั้น หากใช้ในทางที่ดีก็เป็นเรื่องที่น่ายกย่อง หลักธรรมใดบ้างที่จะช่วยให้คนทั้งคนเก่ง และดีมีคุณธรรม
บัณฑิตกับพหูสูตแตกต่างกันอย่างไร
พหูสูต หมายถึง ผู้ที่มีความรู้ความสามารถและนำความรู้ความสามารถไปใช้ในทางที่ดีอย่างถูกต้อง และเกิดประโยชน์กับสังคมด้วย
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ตายแทนกันได้
นายพรานก็มีใจอ่อนโยน เกิดหิริโอตตัปปะ ได้คิดว่า "รางวัล และยศจากพระราชาจะมีประโยชน์อะไร ถ้าเราทำร้ายสัตว์ผู้มีคุณธรรมเช่นนี้ แผ่นดินจะต้องสูบเรา หรือสายฟ้าจะต้องฟาดลงบนกระหม่อมของเราเป็นแน่"
ผู้นำประโยชน์สุขมาให้แก่ชาวโลก
ผู้ใดเป็นคนฉลาด แกล้วกล้า เป็นพหูสูต ทรงธรรม และเป็นผู้ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม ผู้เป็นเช่นนั้นท่านเรียกว่า เป็นผู้ยังหมู่ให้งดงาม
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ของแท้ของเทียม
วันรุ่งขึ้น เมื่อนิครนถ์ ๕๐๐ คน มาถึง สิริคุตต์ออกไปต้อนรับ พลางนึกในใจว่า "หากนิครนถ์เหล่านี้เป็นผู้รู้จริง จงอย่าเข้ามาในเรือน เพราะในเรือนนี้ไม่มีภัตตาหาร มีแต่หลุมคูถ"