เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
นฬปานชาดก ชาดกว่าด้วยการใช้ปัญญาพิจารณา
ครั้งหนึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จไปถึงหมู่บ้านนฬปาน แคว้นโกศล พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณรจำนวนหนึ่ง พระภิกษุทั้งหลายได้ลงไปอาบน้ำในสระน้ำ เห็นต้นอ้อขึ้นอยู่มากมาย จึงให้สามเณรไปตัดมาทำกล่องเข็ม.....เมื่อสามเณรตัดต้นอ้อขึ้นมาดู ก็รู้สึกแปลกใจ เพราะต้นอ้อไม่มีปล้องเลย เป็นรูกลวงตลอด จึงพากันไปแจ้งพระภิกษุ พระภิกษุทั้งหลายจึงนำต้นอ้อไปเพื่อกราบทูลถามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ไขปริศนา ทำไมคนจีนอะไรๆก็ "สีแดง"?
Answer by Law of Kamma :- Why are there many languages in the world?
An audience has a question about language. He has heard that some of the Buddhas had enlightened in the one-language world. Is it correct?
เป็นมารต้องตกนรก
คำถาม : มารทำชั่วต้องตกนรกไหมคะ กฎแห่งกรรมใช้กับพญามารได้หรือไม่คะ
ความแตกต่างของการศึกษาในอดีตและปัจจุบัน
วัดเป็นที่รวมสรรพวิชา การเรียนการสอนในสมัยก่อนเป็นการฝึก การอ่านออก เขียนได้ จับประเด็นได้ เรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร การคัดลายมือ ศิลปะเฉพาะด้านเช่นช่างฝีมือ ช่างแกะสลัก
ชนะมารตั้งแต่ยังไม่ตรัสรู้ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
มารย่อมไม่สามารถทำลายบุคคล
มารย่อมไม่สามารถทำลายบุคคล ผู้ไม่ตกเป็นทาสของความสวยงาม รู้จักควบคุมการแสดงออก รู้ประมาณในโภชนาหาร มีศรัทธา และมีความขยันหมั่นเพียร เหมือนลมไม่สามารถพัดโค่นภูเขา
อาสวกิเลส
มารย่อมค้นไม่พบวิถีทางของผู้ทรงศีล ผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาท ผู้หลุดพ้นจากอาสวกิเลส เพราะรู้ชอบ