โครงการบรรพชาสามเณรฟื้นฟูพระพุทธศาสนาทั่วไทย ประจำปี 2565
โครงการบรรพชาสามเณรฟื้นฟูพระพุทธศาสนาทั่วไทย ประจำปี 2565 เปิดรับสมัครเยาวชนชาย อายุ 10-18 ปี (บวชสามเณรภาคฤดูร้อน) ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ถึงวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2565 อบรมระหว่างวันที่ 27 มีนาคม - วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
คณะศิษย์วัดพระธรรมกาย มอบชุดป้องกันไวรัสโควิด-19 แก่ รพ.ในจ.กาฬสินธุ์
คณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย ได้ส่งมอบชุดป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 แก่โรงพยาบาลในจังหวัดกาฬสินธุ์เพิ่มอีก 2 แห่ง จำนวน 2,000 ชุด
วัดพระธรรมกาย มอบชุดป้องกันไวรัสโควิด-19 แก่ รพ.ในจังหวัดกาฬสินธุ์
วัดพระธรรมกาย และคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย ส่งมอบชุดป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 แก่โรงพยาบาลในจังหวัดกาฬสินธุ์ 3 แห่ง จำนวน 3,000 ชุด
ธุดงค์ คือ อะไร
ธุดงค์ คืออะไร หลังออกพรรษาก็ถึงคราที่พระภิกษุสงฆ์จะเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆ เพื่อหาสถานที่อันสัปปายะ เพื่อเจริญสมณธรรม รวมทั้งเผยแผ่ธรรม ซึ่งเรามักจะได้ยินว่าออก ‘ธุดงค์’
ธุดงค์ เป็นวัตร แต่ไม่เป็นศีล
“ธุดงค์” เป็นวัตรไม่ใช่ศีล เป็นข้อแนะนำให้ปฏิบัติเพื่อฝึกตัว ไม่ใช่ข้อบังคับว่าต้องทำ แบ่งเป็น 3 หมวด คือ จีวร อาหาร และ สถานที่
ธุดงค์ กับ ดอกไม้
การที่ “ธุดงค์” หรือ “พระธุดงค์” มาในเมือง มีสาธุชนมาต้อนรับและโปรยดอกไม้ ก็เพื่อสร้างความสามัคคี สร้างกิจกรรมร่วมของพุทธบริษัท 4 โยมจะได้มีส่วนแห่งบุญในการปฏิบัติธรรมของพระธุดงค์และอยู่ในหลักคารวะ 6 อันพระพุทธองค์สรรเสริญ
ธุดงค์ธรรมชัยรุ่นแสนรูป ตอนที่ 1
ธุดงค์ เป็นวัตรปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไว้ เป็นอุบายวิธีกำจัดขัดเกลากิเลส ทำให้เกิดความมักน้อยสันโดษยิ่งขึ้น ไม่สะสม เพื่อให้เบาสบาย ไปมาได้สะดวกด้วยไม่มีภาระมาก เหมือนนกที่มีเพียงปีกก็บินไปฉะนั้น
ของจริงต้องคู่กับคนจริงนั้นเป็นอย่างไร
ข้อความที่ว่า “ของจริงต้องคู่กับคนจริง” นั้นเป็นอย่างไร? ทำไมบางคนเข้าวัดปฏิบัติธรรม สวดมนต์นั่งสมาธิไม่เคยขาด แต่ยังไม่เข้าถึงพระธรรมกายบางคนกว่าจะชวนเข้าวัดได้ก็แสนยาก แต่พอมานั่งสมาธิกลับเข้าถึงพระธรรมกายได้ง่าย ๆ
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น
รายการกฎแห่งกรรมและธรรมเพื่อประชาชนที่ออกอากาศทางวิทยุ ทั่วประเทศ