ปัญจภีรุกชาดก ชาดกว่าด้วยความสวัสดี
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภพระสูตรว่าด้วยการประเล้าประโลมของมารธิดา ณ อัชปาลนิโคตธ
จัมมสาฏกชาดก ชาดกว่าด้วยนักบวชไหว้แพะ
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตะวันมหาวิหาร ทรงปรารภปริพาชกชื่อ จัมมสาฏก จีงทรงตรัสพระธรรมเทศนาดังนี้ กาลครั้งนั้นมีปริพาชกผู้หนึ่งบำเพ็ญตบะด้วยการเปลือยกาย มีเพียงผิวหนังเท่านั้นเป็นเครื่องนุ่งห่ม
มหาโมรชาดก ชาดกว่าด้วยพญานกยูงพ้นจากบ่วง
ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนาได้แผ่ขยายออกไปกว้างใหญ่ไพศาล ประชาชนล้วนหลั่งไหลให้พระธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวชีวิต บ้างก็ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจให้ทำดี ครั้งนั้นได้มีหนุ่มรูปงามที่ตั้งใจจะละจากกิเลสทั้งปวง ออกบวชมุ่งปฏิบัติธรรม เพื่อตรัสรู้แจ้งแห่งธรรม การงานใดที่เป็นกิจของสงฆ์ ภิกษุหนุ่มนี้ ปฏิบัติได้ดีไม่มีขาด ว่างจากกิจก็นั่งสมาธิตั้งอานาปานสติ
อธิษฐานบารมี ยอมตายไม่ยอมทิ้งเป้าหมาย
"ท่านพึงบำเพ็ญอธิฐานบารมีให้เต็มเปี่ยม ธรรมดาว่าภูเขาหินศิลาแท่งทึบ ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ไม่สะเทือนด้วยแรงลม ตั้งอยู่ในที่เดิมของตนเท่านั้น ฉันใด ท่านจงอย่าได้หวั่นไหว ในความตั้งใจจริงตลอดกาล จักได้เป็นพระพุทธเจ้า"
อกาลราวิชาดก ชาดกว่าด้วยไก่ขันไม่ถูกเวลา
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้ท่องบ่นไม่เป็นเวลารูปหนึ่ง คราวนั้นมีภิกษุบวชใหม่เป็นกุลบุตรชาวพระนครสาวัตถี บรรพชาในพระศาสนาแล้ว มีความมุ่งมั่นที่จะ...
กามชาดก ชาดกว่าด้วยกามและโทษของกาม
ครั้งนั้นเมื่อองค์พระศาสดาทรงประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภกับพราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่ง เขาผู้นี้ได้ทำการหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่ พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี
จับเสือมือเปล่า
การทำเงินเเบบ "จับเสือมือเปล่า" เป็นอย่างไร? จับเสื้อมือเปล่าเเตกต่างกับเสือนอนกินอย่างไร? การจับเสือมือเปล่าต้องทำอย่างไร? โภคะเกิดแก่ผู้มีบุญ สิริชาดก
มตกภัตตชาดก ชาดกว่าด้วยสัตว์ไม่ควรฆ่าสัตว์
“เหล่าพราหมณ์เอ๋ย ถ้าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้อย่างนี้ว่า ความเกิดมี ของชาติภพนั้น เป็นทุกข์เช่นนี้ สัตว์จึงไม่ควรฆ่าสัตว์ เพราะผู้มีปกติข้าสัตว์ ย่อมได้รับความเศร้าโศก ด้วยต้องเสวยมหันตทุกข์ตลอดกาลนาน เหล่าพราหมณ์เอ๋ย ผู้ทำสัตว์อื่นให้เจริญ ย่อมได้ความเจริญในชาติสมภพ เมื่อเบียดเบียนสัตว์อื่นย่อมได้รับการเบียดเบียนเช่นกัน ดังนี้จึงไม่ควรฆ่าสัตว์อื่น อีกอย่างหนึ่ง ทุกท่านล้วนได้เห็นแล้วว่า แพะนี้เศร้าโศกแล้วเพราะมรณะภัยฉันใด ผู้มีปกติฆ่าสัตว์ ย่อมเศร้าโศกตลอดกาลนานฉันนั้น ดังนี้แล้วไม่ว่าผู้ใดก็ตาม จึงไม่ควรกระทำกรรมคือ ปานาติบาต ไม่ควรฆ่าสัตว์ด้วยเหตุผลดังนี้”
อานิสงส์แห่งการสดุดียกย่องพระพุทธคุณ
การยกย่องสดุดี คือ การประกาศคุณธรรมของผู้ทำความดี เพื่อเป็นแบบอย่างให้ผู้อื่นได้รับรู้และปฏิบัติตาม ความหอมแห่งคุณธรรมที่เราได้ประกาศไปนี้ จะส่งผลย้อนกลับมาหาตนให้เป็นผู้ที่น่าคบหา น่าเข้าใกล้และน่าสนทนาด้วย ดังเรื่องราวของพระสุคันธเถระ ผู้ใช้ปัญญาในการยกย่องสรรเสริญพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
กณเวรชาดก ชาดกว่าด้วยหญิงหลายผัว
นางสามา เป็นหญิงคณิกา ผู้มีจิตปฏิพัทธ์ในมหาโจรรูปงาม นางจึงใช้อุบายหลอกล่อบุตรเศรษฐีผู้ซึ่งหลงรักตน ให้สับเปลี่ยนตัวและถูกรับโทษประหารแทนมหาโจร