อลีนจิตตชาดก ชาดกว่าด้วยกัลยาณมิตร
ณ นครสาวัตถีมีภิกษุรูปหนึ่งเมื่อบวชแล้วก็ไม่สามารถบรรลุในพระธรรมได้สักที ภิกษุรูปนี้หมดความหวัง ละความเพียรที่จะปฏิบัติธรรมอีกต่อไป
อปัณณกธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันความผิดพลาด
นครสาวัตถี เนื่องด้วยอัญญเดียรถีย์เหล่านี้ล้วนเป็นคนกลับกลอก พอฟังธรรมก็เกิดศรัทธาประกาศตนเป็นพุทธมามกะ แต่พอพระพุทธศาสดาเสด็จจากไป ก็หันกลับไปนับถือลัทธิเดิมกันทั้งหมดสิ้น
อกตัญญุตาชาดก-ชาดกว่าด้วยคนอกตัญญู
พุทธกาลสมัยหนึ่งครั้งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระสงฆ์สาวกทั้งหลายกลับจากกรุงราชคฤห์ แผ่นดินมคธมาสู่พระเชตวันมหาวิหาร ณ นครสาวัตถี ในโกศลรัฐนั้น สิ่งร้าวรานที่เกิดจาก เทวทัตเถระ กระทำย่ำยีต่อพระพุทธศาสนาในการแบ่งแยกหมู่สงฆ์และสะพิงบัญญัติใหม่แปลกไปจากพุทธวินัยในแคว้นมคธก็กลายเป็นข้อวิภาคเจ็บร้อนขึ้นในธรรมสภา
โภชาชานียชาดก-ชาดกว่าด้วยความเพียรอันยิ่งใหญ่
พุทธกาลครั้งนั้น ณ เชตวันมหาวิหารในนครสาวัตถี สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงมีพระเมตตาธิคุณต่อพระภิกษุรูปหนึ่งซึ่งกำลังเบื่อหน่ายคลายความเพียรลง ทรงอนุเคราะห์ด้วยพุทธวาจาว่า “ดูก่อนภิกษุ บัณฑิตในกาลก่อนนั้นได้ทำความเพียรที่ไม่น่าจะทำได้ แม้ได้รับบาดเจ็บสาหัสเพียงใด ก็มิได้ละความเพียร” แล้วพระพุทธองค์ก็ทรงระลึกชาติด้วย บุพเพนิวาสนุสติญาณด้วยชาดกขึ้นเรื่องหนึ่ง โภชาชานียชาดก ความเพียรอันยิ่งใหญ่
โมรณัจจชาดก-ชาดกว่าด้วยผู้ขาดหิริโอตัปปะ
ครั้นเมื่อองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประกาศพระพุทธศาสนาในแคว้นมคธรัฐแล้ว ต่อมาเมื่อพระองค์เสด็จจากนครราชคฤห์ อันมีฉายาว่าเบญจคีรี ที่มีภูเขาทั้ง 5 เป็นปราการมาประทับยังนครสาวัตถีในแคว้นโกศลนั้น แสงธรรมจากพระพุทธองค์ก็ส่องรัศมีกระจ่างไปทั่วแผ่นดินอนุทวีป
1 กัป หรือ 1 มหากัป คิดเป็นกี่ปี ?
เรียนรู้เกี่ยวกับระยะเวลา 1 มหากัป และความหมายที่เกี่ยวข้อง พร้อมการเปรียบเทียบระยะเวลาที่มีในไตรปิฎก
สุนักขชาดก ชาดกว่าด้วยผู้ฉลาดย่อมช่วยตัวเองได้
ลูกสุนัขน้อยตัวหนึ่งถูกนำมาเลี้ยงโดยผู้ดูแลหอฉันในพระอาราม ด้วยความน่ารักและเฉลียวฉลาดลูกสุนัขจึงเป็นที่รักและเอ็นดูของภิกษุทั้งหลาย พ่อค้าคนหนึ่งนำภัตตาหารมาถวายพระ เมื่อเห็นลูกสุนัขก็เกิดความเอ็นดู เลยขอซื้อลูกสุนัขเพื่อไปกำนัลผู้ใหญ่ ในระหว่างการเดินทางลูกสุนัขได้กัดเชือกที่ผูกล่ามตน แล้วเดินทางกลับมาหาเจ้าของผู้เลี้ยงคนเดิมยังโรงฉันในพระอาราม
สังวรมหาราชชาดก ชาดกว่าด้วยพระราชาผู้มีศีลาจารวัตรที่ดีงาม
พระโอรสสังวรกุมารเป็นพระโอรสองค์ที่ ๑๐๐ แห่งพระราชาเมืองพาราณสี ซึ่งเป็นผู้ที่เคารพรักใคร่ ของเหล่าปวงประชา เหตุเพราะพระองค์เป็นผู้ที่มีศีลาจารวัตรงดงาม เป็นผู้ไม่ความริษยา เคารพนบนอบในผู้มีคุณ มีความยินดีในธรรม ทำให้พระองค์เป็นผู้ที่ถูกเลือกให้ครองราชสมบัติแทนพระราชบิดาของตน
เนรุชาดก ชาดกว่าด้วยอานุภาพของเนรุบรรพต
หงส์สองพี่น้องได้บินท่องเที่ยวผ่านไปทางภูเขาเนรุบรรณพต ซึ่งเนรุบรรพตแห่งนี้เป็นภูเขาวิเศษสัตว์ใด ๆ ก็ตามเมื่อเข้ามาอยู่ที่นี่จะมีสีสันสวยงาม ดั่งทองทุกตัว “ น้องเอ๋ย สัตว์สกุลใดจิตและพฤติกรรมก็ย่อมเป็นไปตามสัญชาติญาณ ตนไม่อาจเปลี่ยนสีได้อย่างภายนอกหรอก ” หงส์ผู้พี่ได้กล่าวกับน้องของตน
อาวาริยชาดก ชาดกว่าด้วยไม่ควรเปล่งวาจาที่ดีให้เกินแก่ควรกาล
ฤาษีได้ให้โอวาทคนแจวเรือ ซึ่งเป็นคนที่โง่เขลา มีนิสัยดุร้าย ขี้โกง " ขอให้ท่านจงอย่าคิดเคืองโกรธไม่ว่าจะในที่ใด ๆ ทั้งในบ้าน ในป่า ความร่ำรวยในทรัพย์ก็จะมีแก่โยม นี่แหละของดีที่อาตมาจะให้ ” “ อะไรกันท่านฤาษี นี่หรือคือค่าจ้างเรือที่ท่านจะให้ผมหน่ะ ” “ ใช่แล้วล่ะโยม ” “ ไม่ได้ ข้าไม่ยอม เอาของดีของท่านเก็บไว้ใช้กับตัวเถิด ค่าจ้างของข้า ต้องเป็นเงินเพียงอย่างเดียว เอาเงินมาให้ข้า ข้าต้องการเงินเท่านั้น ” ว่าแล้วคนแจวเรือก็ได้ทำการตบตี ทำร้ายฤาษีในทันที