เธอเปรียบเสมือนเดือนในหมู่ดาว
เธองามทั้งกาย และใจ ได้สามีที่รักและดูแลเธออย่างดี มีลูกชายเป็นนักรบแห่งกองทัพธรรม แต่วิบากกรรมไม่ละเว้นผู้ใด เธอต้องสูญเสียสามี และพระลูกชายไป ศึกษาเรื่องราวชีวิตของเธอ เพื่อตอกซ้ำย้ำเตือนใจตัวเอง ให้หมั่นสั่งสมบุญ อยู่เสมอ ทั้ง ทาน ศีล ภาวนา และบุญพิเศษอื่นๆ เพราะความตาย ไม่มีนิมิตหมาย
วัฑฒิสูตร พระสูตรที่ว่าด้วยความเจริญของผู้ครองเรือน
ชีวิตที่สมบูรณ์แบบนั้น บางคนคิดว่าคือความสุขที่มาจากทรัพย์บางคนก็คิดว่าชีวิตที่เต็มไปด้วยความเสียสละ และบางคนอาจคิดว่าความสำเร็จในหน้าที่การงานคือความสมบูรณ์แบบ
ธุดงค์ธรรมชัย ฟื้นฟูพระพุทธศาสนา จ.ลำพูน
พุทธบุตรผู้กล้า ในโครงการอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 40 ได้เริ่มภารกิจที่ยิ่งใหญ่ในการเดินธุดงค์ธรรมชัย
ดูแลบ้านหลังน้ำท่วม
น้ำคือองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของธรรมชาติ และธรรมชาติเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ เกินกว่าที่มนุษย์จะไปท้าทายแข่งขัน รั้วคอนกรีตของท่าน คงจะไม่สามารถฝืนกฎนี้ได้
บุญใดภรรยาจึงเกิดมาสวยผิวพรรณดีและได้ตำแหน่งนางสาวไทยอันดับ3
เกิดมาสวย ผิวพรรณดี เพราะในอดีตชอบทำบุญด้วยของสวยงาม เช่น นำดอกไม้บูชาพระรัตนตรัย แล้วอธิษฐานจิตขอให้ชาติต่อไปเป็นคนผิวพรรณดีและสวย มารวมส่งผล
ขัลลฏิยชาดกว่าด้วยความหลงผิดลุ่มหลงในอบายมุข
ขัลลฏิยชาดก เป็นเรื่องความหลงผิดของสตรีนางหนึ่ง ซึ่งนางหลงประกอบมิจฉาชีพและทำจนคุ้นชิน ความสำนึกในบาปบุญคุณโทษก็หมดสิ้นไป เมื่อได้มาในสิ่งที่ต้องการ ก็ยิ่งหลงทำผิด ทำบาปเพิ่มมากยิ่งขึ้น จนเป็นเหตให้นางไปเกิดเป็นนางเวมานิกเปรต
กิจกรรมงานบุญ วันธรรมชัย วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม 2554
ในวันธรรมชัย เป็นวันบุญใหญ่พิเศษที่ลูกพระธัมฯทั่วโลกจะได้มาสั่งสมบุญร่วมกันทั้งวัน โดยตั้งแต่เวลา 6.00 น.
จันทกินรีชาดก-ชาดกว่าด้วยความผูกพันจงรักภักดี
ครั้งเมื่อพระพุทธศาสดาเสด็จสู่แคว้นสักกะแห่งศากยวงศ์ พร้อมพระโมคคัลลานะ พระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องซ้ายและขวาและสังฆสาวกทั้งมวล พุทธกาลครั้งนั้นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ์นครหลวงของแคว้นสักกะ เพื่อแสดงธรรมโปรดพระเจ้าสุทโธทนะพระราชบิดา
กัฏฐหาริชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษแห่งการแบ่งชนชั้น
ณ ถิ่นกำเนิดพระพุทธศาสนานั้นยังมีการถือชนชั้นกีดกันวรรณะกันอย่างรุนแรงแม้แต่ในหมู่พระประยูรญาติขององค์พระพุทธศาสดาเอง อุษาสางวาระหนึ่งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสอดส่องพระญาณก็ทรงพบว่า ความทุกข์เวทจากวรรณะได้เกิดกับพระญาติแห่งศากยวงศ์
มิตตวินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษผู้ลุอำนาจความปรารถนา
ครั้งหนึ่งเมื่อสมเด็จพระพุทธศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศนาข้อตัณหาอันเป็นสิ่งกว้างขวางไร้ขอบเขตจำกัด ณ พระเชตะวันมหาวิหารในนครหลวงแห่งมคธรัฐ พุทธวัจนในพระธรรมบทนี้ได้รับการจดจำต่อๆ กันว่าชนเหล่าใดมากำหนัดยินดีตัณหานั้น ชนเหล่านั้นก็เช่นผู้ถูกจักรกรดไว้