เป็นคนดี๊ ดี ชอบทำบุญ แต่ชอบชนไก่ กัดปลากัด ตายแล้วไปไหน
ผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งเป็นหมอแผนโบราณ รักษาผู้ป่วยด้วยยาสมุนไพร เขาได้สร้างสถานที่เพื่อเป็นที่พักฟื้นของผู้ป่วย เหมือนกับเป็นโรงพยาบาลขนาดย่อยๆ เป็นคนใจดี ชอบทำบุญ เข้าวัด ชอบช่วยเหลือคนตกยาก แต่เขาชอบเล่นการพนัน แข่งเรือพาย ชนไก่ กัดปลา...ในบั้นปลายของชีวิต เขาป่วยด้วยโรคมะเร็งลำคอ เสียชีวิตเมื่ออายุ 80 ปี...ชีวิตหลังความตายของเขาเป็นอย่างไร...ที่นี่...มีคำตอบ...
ความฝันของพระเจ้าปเสนทิโกศล และคำทำนายของพระพุทธเจ้าทั้ง 16 ประการ
เมื่อกษัตริย์แห้งแคว้นโกศลทรงมีนิมิตแห่งความฝันแปลกถึง 16 ประการ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะทรงทํานายความฝัน 16 ประการของพระเจ้าปเสนทิโกศลเป็นอย่างไร มาติดตามกันค่ะ
วัดพระธรรมกายบอสตัน ร่วมสัมมนาความดีสากล
คณะสงฆ์ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ และสาธุชนวัดพระธรรมกายบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้เข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความดีสากล
ขอเชิญร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ มงคลชีวิต 38 ประการ (ภาษาเวียดนาม)
ขอเชิญร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ มงคลชีวิต 38 ประการ (ภาษาเวียดนาม) ร่วมทำบุญได้ที่ห้องขันติ ในนาม กองทุนผลิตสื่อ World-PEC ต่างประเทศ วันอาทิตย์ ที่สภาฯ ตู้รับบริจาค หรือ เสา M27 ส่งรายชื่อได้ตั้งแต่วันนี้ ถึงวันที่ 15 มิ.ย. 2558
กิจกรรมมัชฌิมธรรมทายาท วัดพระธรรมกายแคลิฟอร์เนีย
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม 2554 ที่ผ่านมา ผู้มีบุญวัดพระธรรมกาย ดี.ซี ได้ร่วมงานบุญใหญ่กันอย่างเบิกบาน
สื่อมวลชนเสนอข่าว ผู้ว่าปทุมฯ เปิดงานวันเด็ก 2568 (ปีที่ 7) “เจาะเวลาตามหาเด็กมหัศจรรย์” ณ วัดพระธรรมกาย
สื่อมวลชนเสนอข่าว ผู้ว่าปทุมฯ เปิดงานวันเด็ก 2568 (ปีที่ 7) “เจาะเวลาตามหาเด็กมหัศจรรย์” ณ วัดพระธรรมกาย – กิจกรรมเชิงพุทธสุดปัง! สร้างสรรค์เด็กและเยาวชนให้ “เก่ง-ดี-มีศีลธรรม-เป็นดาวแห่งความดี”
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ หลักธรรมว่าด้วยความเห็นชอบ 10 ประการ
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ สัมมาทิฏฐิ หมายถึง มีความเห็นชอบ เห็นถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
อธิการ มจร. แนะครูพระยึดหลักจตุสดมภ์การศึกษา
พระธรรมโกศาจารย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) กล่าวบรรยายเรื่อง การศึกษาเพื่อสันติสุขของสังคม ในการสัมมนาพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนทั่วประเทศ ณ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ได้ลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
ทำมาค้าขาย ของประเทศไทย
อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทย ประกอบอาชีพเกษตรกร ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาช้านา อาชีพเกษตรกรมีความหมายรวมๆ ถึง อาชีพเพาะปลูก พืชสวน พืชไร่ ทำยาพารา เลี้ยงสัตว์ ทำประมง รองลงมาคืออาชีพด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม นอกจากนี้เป็นการประกอบอาชีพอื่นๆ ได้แก่ อุตสาหกรรม บริการ รับราชการ รัฐวิสาหกิจ การเมือง แพทย์ ทนายความ ตลอดจนผู้ใช้ฝีมือแรงงาน ผู้ที่มีอาชีพทำนา เราเรียกว่า ชาวนา