บุพกรรมใดตายไปเป็นเปรตโครงกระดูก
เปรต คือ อดีตมนุษย์หรือเทวดาที่เคยทำบาปหนักได้ชดใช้กรรมส่วนใหญ่ในมหานรก อุสสทนรก และยมโลกแล้วแต่ยังมีเศษกรรมอยู่ทำให้ต้องมาเกิดเป็นเปรตมีความทุกข์ทรมานแสนสาหัส
สภาพของเปรตแต่ละชนิด
เปรตชิ้นเนื้อ ครั้งหนึ่ง พระมหาโมคคัลลานเถระได้เห็นชิ้นเนื้อลอยอยู่ในอากาศ พวกแร้งบ้าง นกตะกรุมบ้าง ต่างพากันโผถลาตามจิกทึ้งชิ้นเนื้อนั้น และชิ้นเนื้อนั้นก็ส่งเสียงร้องครวญครางอย่างน่าสงสาร จึงคิดว่าน่าอัศจรรย์เป็นนักหนา ต่อมาได้กราบทูลให้พระพุทธองค์ทรงทราบ ซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเล่าประวัติของเปรตตนนี้ว่า
วิบากกรรมอะไรทำให้ลูกสาวคนโตมีลักษณะเหมือนทอมและชอบสักตามตัว
วิบากกรรมอะไรทำให้ลูกสาวคนโตมีลักษณะเหมือนทอม ชอบสักตามตัว มักประสบอุบัติเหตุทำให้กระดูกมือและกระดูกเท้าแตกหักคะ
วิบากกรรมผู้สนับสนุนน้ำเมาเข้าตลาดหลักทรัพย์
ผู้สนับสนุนให้น้ำเมาเข้าตลาดหลักทรัพย์โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จะทำให้มีวิบากกรรมในปัจจุบันชาตินี้ ในปรโลก และภพชาติต่อๆ ไปอย่างไร
ให้เช่าห้องเพื่อขายบริการ-ที่นี่มีคำตอบ
เจ้าของอาคารให้เช่าเพื่อขายบริการทางเพศ แบบที่ไม่ได้บังคับให้ขายตัว เพียงแต่คอยดูและเก็บค่าเช่าห้อง จะมีวิบากกรรมหรือไม่
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 5 พบมหาพรหม)
บุคคลใด ละบาปกรรมที่ตนทำไว้แล้วได้ด้วยกุศล บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจดวงจันทร์พ้นแล้วจากหมอก ฉะนั้น
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - อดทนอย่างมีเป้าหมาย
เรายอมให้ลิงเบียดเบียนเรา ดีกว่าเราไปเบียดเบียนลิงตัวนี้ ถึงอย่างไรเราก็ไม่ทำปาณาติบาต เพียงเพื่อให้พ้นจากทุกข์ในปัจจุบัน แต่ไม่อาจพ้นจากทุกข์ในอบาย เพราะการทำปาณาติบาตนั้นอย่างแน่นอน แล้วกระบือ โพธิสัตว์ก็ยังคงประกอบขันติธรรม ยืนสงบนิ่งอยู่เช่นเดิม เป็นผู้มีใจหนักแน่นประดุจภูเขาศิลาแท่งทึบ ที่ไม่หวั่นไหวต่อแรงลมที่พัดมาจากทิศ ทั้ง ๔
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - ผู้ก่อบาปกรรม ย่อมแพ้สงครามแห่งชีวิต
นายจุนทะ ผู้เลี้ยงชีพด้วยการขายเนื้อสุกร เขามีชีวิตอยู่กับการฆ่าสุกรมาตลอด ๕๕ ปี ทุกวันหลังจากที่ฆ่าสุกรแล้ว เขาจะแบ่งเนื้อไว้กินกันเองในครอบครัว และนำเนื้อส่วนที่เหลือไปขายเลี้ยงชีพ ตลอดชีวิตที่ผ่านมา เขาไม่เคยประกอบกุศลกรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา แม้พระบรมศาสดาจะประทับอยู่ในวัดเวฬุวัน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ บ้าน เขาก็ไม่เคยไปวัด ไม่เคยถวายอาหารแม้เพียงข้าวทัพพีเดียว มีแต่ทำบาปกรรมมาตลอด
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพาพ้นภัย (๒)
เนื่องจากความคุ้นเคยกันมากเกินไป พระเทวีได้ประพฤติ นอกใจพระราชา โดยประพฤติมิจฉาจารกับทาสของตนเอง เมื่อพระนางทำผิดแล้ว เกรงว่าพระสวามีจะจับได้ จึงแนะนำให้ทาสปลงพระชนม์พระราชา