ธรรมะกับพระธรรมมีความหมายการใช้เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
คำว่า “พระธรรม” เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา หมายถึงคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ว่าด้วยเรื่องความจริงและความดี เกี่ยวกับโลกและชีวิต ธรรมะหมายถึงความดี ความจริงประจำโลก
วิธีเตรียมความพร้อมก่อนไปนิพพาน
การเตรียมตัวไปนิพพานแม้จะไม่เหมือนกับการเตรียมเดินทางในโลกนี้ ก็ตาม แต่มีสิ่งหนึ่งที่คล้ายคลึงกัน คือ ต้องมีการศึกษาตามลำดับ จากท่านผู้รู้ทั้งหลายในอดีต
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 91 บารมี อุปบารมี ปรมัตถบารมี
พระโพธิสัตว์ทั้งหลายกว่าจะได้มาตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น พระโพธิสัตว์จะต้องบ่มบารมีทั้งสามสิบทัศให้แก่รอบแบบย้ำๆซ้ำๆ
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๑)
ในโลกแห่งความเป็นจริง มนุษย์ต่างแสวงหาความพอดี แต่เนื่องจากมีอวิชชามาบดบังดวงปัญญาไว้
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 61 อัธยาศัยของพระโพธิสัตว์
ด้วยความที่พระโพธิสัตว์เป็นผู้ที่มีหัวใจรักในการสร้างบารมีอย่างไม่มีประมาณ เราจึงสามารถสรุปอัธยาศัยของพระโพธิสัตว์ได้หกประการ ดังนี้
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งด้วยตนเอง
เราเป็นผู้ครอบงำธรรมทั้งปวง รู้ธรรมทั้งปวง อันตัณหา และทิฏฐิไม่ฉาบทาแล้ว ในธรรมทั้งปวง ละธรรมเป็นไปในภูมิสามได้หมด พ้นแล้วเพราะ ความสิ้นไปแห่งตัณหา เราตรัสรู้ยิ่งเองแล้ว จะพึง อ้างใครเล่า อาจารย์ของเราไม่มี คนเช่นเรา ก็ไม่มี บุคคลเสมอเหมือนเราก็ไม่มี ในโลกกับ ทั้งเทวโลก เพราะเราเป็นพระอรหันต์ในโลก
มงคลที่ ๑๔ ทำงานไม่คั่งค้าง - ผลของความเพียรพยายาม
ความขยันหมั่นเพียร เป็นบ่อเกิดแห่งความสำเร็จทุกประการ บุคคลผู้มีความเพียรไม่เบื่อหน่ายในการงานที่ตนกระทำ หมั่นฝึกฝนอบรมคุณธรรม สั่งสมความดี ประกอบบุญกุศลอยู่เป็นนิตย์ ย่อมได้รับความสุขและความสำเร็จ บุญกุศลที่ทำไว้จะเป็นเสบียงติดตัวข้ามภพข้ามชาติ ข้ามห้วงวัฏสงสารอันยาวไกล
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 1
อาชีพนั้น เราก็สามารถเลือกได้ และเมื่อทำไปแล้ว เกิดไม่ชอบใจขึ้นมา ก็สามารถเปลี่ยนอาชีพใหม่ได้ไม่ยากนัก แต่วิชาชีวิตนั้น คนส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยรู้กันเลยว่า ต้นแบบชีวิตที่ดีที่สุดนั้นเป็นเช่นไร ควรจะเลือกดำเนินชีวิตอย่างไร และทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีคุณค่าสูงสุด
เรื่องของชาวสวรรค์
บุคคลที่จะถือกำเนิดบนสวรรค์นั้น เมื่อเป็นมนุษย์ต้องหมั่นสร้างความดี สั่งสมบุญ บำเพ็ญบารมี หมั่นทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนา
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 87 สัจจบารมี
สัจจบารมี คือ ความจริงจังจริงใจ กล่าวคือ จริงทั้งคำพูดและการกระทำ หากตั้งใจที่จะกระทำสิ่งใดที่เป็นสิ่งที่ดี ก็จะต้องมุ่งมั่นทำสิ่งนั้นให้สำเร็จ