หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๗)
เดือนตุลาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากเจ้าภาพ คือ ประธานพุทธสมาคมจีนให้เข้าร่วมประชุม World Buddhist Forum ครั้งที่ ๔ ที่เมือง Wu Xi ซึ่งมีผู้แทนองค์กรชาวพุทธถึง ๕๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้นับว่าเป็นนิมิตหมายที่ดีที่พุทธบริษัทจะมารวมเป็นหนึ่งเดียว ในช่วงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้เขียนจะเดินทางไปเมืองซีอานอีกครั้งหนึ่ง
เมื่อเข้าถึงจึงรู้สึกพอ (1)
พระธรรมกายเหมือนฮาร์ดแวร์ พระธรรม 84,000 พระธรรมขันธ์เหมือนซอร์ฟแวร์ อยู่ในกลางพระธรรมกาย และวิชชาธรรมกายจะศึกษากันตรงนั้นถ้าเข้าไปถึงตรงนั้นได้สนุกทีเดียว มันก็เหลือแต่พวกเรานี่ออกพรรษาแล้วเราจะเอาอย่างไรดี เมื่อเราวอร์มกันมาตั้งหนึ่งพรรษาแล้ว ตอนนี้เครื่องอุ่น
ธรรมะกับพระธรรมมีความหมายการใช้เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
คำว่า “พระธรรม” เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา หมายถึงคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ว่าด้วยเรื่องความจริงและความดี เกี่ยวกับโลกและชีวิต ธรรมะหมายถึงความดี ความจริงประจำโลก
มหาปูชนียาจารย์ (1)
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ การบูชาปูชนียบุคคลทั้งหลาย นี้เป็นมงคลอันสูงสุด
พระสังฆราชประทานพรปีใหม่
สมเด็จพระสังฆราช ประทานพรปีใหม่ ทรงแนะให้ยึดพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เพื่อไกลความทุกข์
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ยอดกัลยาณมิตร)
ผู้ใดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะแล้ว เห็นอริยสัจ ๔ ด้วยปัญญาอันชอบ คือ ทุกข์ และตัณหาอันเป็นแดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันไปจากข้าศึก ให้ถึงพระนิพพานเป็นที่เข้าไประงับทุกข์ นี้แลเป็นสรณะอันเกษม นี้เป็นสรณะอันอุดม บุคคลอาศัยสิ่งนี้แล้ว ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
ธุดงคสถานปราจีนบุรี สัมมนาโครงการบรรพชาสามเณร
ธุดงคสถานปราจีนบุรี จัดงานสัมมนาโครงการบรรพชาสามเณรฟื้นฟูพระพุทธศาสนาทั่วไทย และพิธีถวายมหาสังฆทาน 99 วัด
ร่วมสร้างและจารึกชื่อ เป็นเจ้าภาพจัดพิมพ์ปฏิทินปีพุทธศักราช 2555
ปฏิทินปีใหม่ ปีพุทธศักราช 2555 ปูชา จ ปูชนียานัง การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลอย่างยิ่ง เชิญผุ้มีบุญทุกท่านสร้างความใส และส่งกำลังใจไปทั่วโลก ด้วยปฏิทินปีใหม่
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน The Lord Buddha Part 12
ติดตามเรื่องเกี่ยวกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า The Lord Buddha's History Part #12 ประวัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 12 พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จดับขันธปรินิพพาน
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 6 ชนะสัจจกนิครนถ์)
อาสวะเหล่าใดที่ทำให้เศร้าหมอง ให้เกิดภพใหม่ มีวิบากเป็นทุกข์ ให้มีชาติ ชรา มรณะต่อไป บุคคลใดยังละไม่ได้ นั่นแหละเป็นคนหลง แต่ถ้าละกิเลสเหล่านั้นได้แล้ว นับว่าเป็นผู้ตื่นอยู่ทุกเมื่อ