ความสว่างของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
หิ่งห้อยนั้น ส่งแสงสว่างอยู่ชั่วเวลาพระอาทิตย์ยังไม่ขึ้น เมื่อพระอาทิตย์ขึ้นไปแล้ว หิ่งห้อยนั้นก็อับแสงและไม่สว่างได้เลย
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 16
จึงกลับมาแลดูพระองค์ก็จำได้ ว่า ใช่พระเตมิยราชกุมารแน่แล้ว จึงหมอบลงแทบพระบาทของพระโพธิสัตว์ ประคองอัญชลีทูลวิงวอนว่า “ข้าแต่พระราชโอรส ขอพระองค์จงเสด็จกลับพระนครเถิด ข้าพระบาทจะนำพระองค์กลับสู่ราชมณเฑียร ขอพระองค์จงครองราชย์สมบัติ ขอจงทรงพระเจริญ พระองค์จะอยู่ทำอะไรในป่านี้เล่า
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 6
อาจารย์เสนกะจินตนาการไปไกลว่า “หาก มโหสถกุมารนี้ได้เข้ามาอยู่ในราชสำนักเมื่อใด เราก็คงหมดความสำคัญ แม้พระราชาก็จักทรงลืมเราไปเสียสิ้น ไม่ช้าเราก็จะตกต่ำหมดรัศมี แม้ลาภ ยศ บริวาร และความเป็นใหญ่ก็จะพลอยสูญสิ้น จำเราจะต้องกราบทูลทัดทานไว้ก่อน”
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 16
เมื่่อมาตลีเทพสารถีได้นำพระเจ้าเนมิราชมาถึงเทวสภา เหล่าเทวดาก็อัญเชิญให้เสด็จขึ้นประทับนั่งบนทิพอาสน์ใกล้กับท้าวสักกเทวราช และท้าวสักกะจอมเทพทรงเกิดความเลื่อมใสในพระเจ้า เนมิราชเป็นอย่างยิ่ง ได้ตรัสเชื้อเชิญให้ทรงบริโภคกามอันเป็นทิพย์ในเทวโลกกับพระองค์ โดยจะทรงแบ่งสมบัติทิพย์ให้ เรื่องราวจะเป็นอย่างไรนั้น
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - สมบัติเคียงคู่ผู้มีบุญ
จะเห็นได้ว่า ใครมีบุญ สมบัติจะไปอยู่กับคนนั้น นายควาญช้างเป็นผู้สั่งสมบุญไว้ดีแล้วในกาลก่อน บุญนั้นจึงส่งผลให้เขาได้เป็นพระราชา เหมือนดังที่พระบรมศาสดาได้ตรัสพระคาถาในสิริชาดก ติกนิบาตว่า
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - สิ่งที่พึงพิจารณาบ่อยๆ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมีพุทธ ประสงค์ให้พุทธบริษัททั้งหลาย หมั่นเจริญมรณานุสติอยู่เนืองๆ ชนิดทุกลมหายใจ เข้าออก เพราะชีวิตมนุษย์นั้นสั้นยาว เพียงแค่ลมหายใจเข้าออกที่ปลายจมูกเท่านั้น ไม่ได้ยืนยาวอย่างที่เรานึกคิดกันเอง การพิจารณาถึงความตายนี้ เป็นสิ่งที่พวกเราต้องพิจารณาโดยแยบคาย พิจารณาบ่อยๆ
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 3 (ตอนภพมารสะดุ้ง)
เราจะบอกมลทินอันยิ่งกว่ามลทินนั้น อวิชชาเป็นมลทินอย่างยิ่ง ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย เมื่อละมลทินนั้นได้แล้ว ย่อมเป็นผู้หมดจด
อานิสงส์เจริญเมตตา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย 11 ประการ คือ 1. หลับก็เป็นสุข 2. ตื่นก็เป็นสุข.....
พุทธปาฏิหาริย์ ๓,๕๐๐ อย่าง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายมีประมาณเท่าใด ไม่มีเท้าก็ดี ๒ เท้าก็ดี ๔ เท้าก็ดี มีเท้ามากก็ดี มีรูปก็ดี ไม่มีรูปก็ดี มีสัญญาก็ดี ไม่มีสัญญาก็ดี มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๒)
ความชั่วทางกาย วาจา และใจของบุคคลใดไม่มี เราเรียกบุคคลนั้น ผู้สำรวมแล้วโดยฐานะ ๓ ว่า เป็นพราหมณ์