ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพจัดพิมพ์วารสารพระสังฆาธิการฉบับมุทิตาสักการะเปรียญธรรม ๙ ประโยค
วารสารพระสังฆาธิการฉบับมุทิตาสักการะเปรียญธรรม ๙ ประโยค ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๕๘
ประมวลภาพงานบุญวันสมาธิโลก ประจำปี 2559 ณ วัดพระธรรมกาย
พิธีบูชาข้าวพระ พิธีถวายมหาสังฆทาน 3,000 วัดทั่วประเทศ มุทิตาสักการะ ป.ธ.9 พิธีมอบโล่เกียรติยศ มอบทุนการศึกษาแด่สำนักเรียนบาลีดีเด่น ในวันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ณ วัดพระธรรมกาย
อานิสงส์ถวายน้ำอ้อย
“นายโคบาลย่อมต้อนโคทั้งหลาย ไปสู่ที่หากินด้วยท่อนไม้ ฉันใด ความแก่ชราและความตายย่อมต้อนอายุ ของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น” (ขุ.ธ.)
เวมานิกเปรตผู้โดดเดี่ยว
เมื่อพระบรมศาสดาประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภอดีตหญิงโสเภณีคนหนึ่งที่ประพฤติผิดศีลแทบทุกข้อ แต่มีบุญที่ได้ทำทานกับพระอรหันต์ไว้บ้าง จึงทำให้ไปบังเกิดเป็นเวมานิกเปรต เปลือยกายอยู่โดดเดี่ยวท่ามกลางมหาสมุทร เรื่องของนางก็มีอยู่ว่า...
ศีลธรรม-มนุษยธรรม
การฆ่าหรือประทุษร้ายร่างกายผู้อื่นรวมทั้งสัตว์ทั้งหลาย ล้วนชื่อว่านำความทุกข์กาย ทุกข์ใจมาสู่ตนและผู้อื่น ได้ชื่อว่าเป็นการละเมิดศีลข้อ 1 ซึ่งเป็นมนุษยธรรม การละเมิด ศีลในทุกระดับ ไม่ว่าจะถึงขั้นศีลขาด ศีลทะลุ ศีลด่าง หรือศีลพร้อย ล้วนแต่เป็นการทำลาย คุณภาพใจให้เสื่อมลง
สะอาดกาย สะอาดใจ
“สัตว์ทั้งหลายสะดุ้งต่ออาชญากันหมด เพราะชีวิตเป็นที่รักของสัตว์ทั้งหลาย ฉะนั้น คนควรเอาตนเป็นเครื่องเปรียบเทียบ แล้วไม่เบียดเบียน ไม่ฆ่ากัน” (ตุณฑิลชาดก)
อานิสงส์ถวายความหอม
“ของหอม” ตรงกันข้ามกับ “ของเหม็น” ของหอมเป็นสุคันธารมณ์ที่ชื่นชอบ พออกพอใจ ชุ่มชื่นใจแก่คนทั่วไป ความสุนทรีย์ในกลิ่นหอมช่วยทำให้อารมณ์ผ่อนคลาย ร่างกายจะก่อเกิดสารแห่งความสุขไปพร้อมกับความหอมที่จรุงใจด้วยพืชพรรณธรรมชาติที่สกัดออกมาเป็นของหอมอันทรงคุณค่า
ศีลศัลยกรรม
“คนมีศีล ย่อมได้รับอานิสงส์ 5 อย่าง คือ พรั่งพร้อมทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงฟุ้งขจรไปทั่ว มีความอาจหาญในการเข้าสู่สมาคม เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ ละโลกแล้วเข้าถึงสุคติสวรรค์”
อานิสงส์ถวายเภสัชและรักษาพระภิกษุอาพาธ
ความสุขขั้นพื้นฐานของทุกคน คือ อยากมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและอายุยืน ไม่ต้อง รับประทานยารักษาโรค ไม่ต้องเสียเวลาไปหาหมอ สุขภาพดีเป็นสิ่งที่ใคร ๆ ล้วนปรารถนากันทั้งสิ้น
ธัมมัสสวนมัย จิตผ่องใสได้ฟังธรรม
“ภิกษุทั้งหลาย เวลาที่ทรงคุณค่าที่บุคคลให้เป็นไปโดยชอบแล้วย่อมทำให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ เวลาที่ทรงคุณค่า 4 อย่าง คือเวลาฟังธรรมตามกาล เวลาสนทนาธรรมตามกาล เวลาทำความสงบของใจและเวลาพิจารณาธรรมให้เกิดความรู้แจ้ง” (ทุติยกาลสูตร)