วันวิสาขบูชา ณ ดินแดนพุทธภูมิ
การเตรียมงานลอยโคมวันวิสาขบูชา ณ เมืองอเมนากะ รัฐมหาราษฏะ ประเทศอินเดีย เพื่อฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในดินแดนพุทธภูมิ
ฉลองพุทธชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ฉลองพุทธชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า คำว่า “พุทธชยันตี” หมายถึง วันครบรอบชัยชนะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เหตุการณ์อันสำคัญยิ่งนี้ได้บังเกิดขึ้นในวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ณควงไม้พระศรีมหาโพธิ์ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย ตอน มาเกิดเพื่อสมานสามัคคี
หลวงพ่อธัมมชโย มีนามเดิมว่า ไชยบูลย์ สุทธิผล ถือกำเนิดเมื่อวันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2487 ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก เวลา 18.00 น. ณ บ้านริมฝั่งแม่น้ำ เจ้าพระยา ต.บ้านแป้ง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ท่านเป็นบุตรของนายช่างใหญ่กรมโรงงาน อุตสาหกรรม นามว่า คุณพ่อจรรยงค์ สุทธิผล กับคุณแม่จุรี สุทธิผล
ชาวพุทธในยุคปัจจุบันของบังคลาเทศ
ความมั่นคงของพระพุทธศาสนาจะต้องประกอบด้วยปัจจัยที่สำคัญคือ ชาวพุทธต้องเป็นชาวพุทธที่แท้จริง มีความรู้ความเข้าใจในคำสอนของพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง โดยต้องศึกษาทั้งปริยัติ และปฏิบัติ เพื่อให้เกิดปฏิเวธ และปัจจัยที่สำคัญยิ่งอีกประการหนึ่งก็คือ ชาวพุทธจะต้องมีความสามัคคีกัน เว้นจากการให้ร้ายกัน พระพุทธศาสนาจึงจะมั่นคงอยู่ได้อย่างแท้จริง
หนุ่มผู้ดีตั้งเป้าเดินเท้าสู่แดนภารตะ แพร่เมล็ดพันธุ์ ‘สังคมแห่งการพึ่งพา’
เริ่มต้นปีใหม่ ในแบบชาวพุทธ
เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง..ปีใหม่มาถึงอีกแล้ว ได้โอกาสในการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้น เริ่มต้นอย่างไร ให้ปีใหม่นี้ เป็นปีที่จะดียิ่งๆ ขึ้น "เริ่มต้นปีใหม่ ในแบบชาวพุทธ" มาติดตามกันได้เลยค่ะ...
มาฆบูชา พุทธมหาสันนิบาต ตอน ทั่วโลกรวมใจ แสวงบุญใหญ่ที่วัดพระธรรมกาย
ทุกๆ ปี ชาวพุทธจากทั่วโลกจะบินข้ามน้ำข้ามทะเลมาร่วมงานวันมาฆบูชาที่วัดพระธรรมกายกันอย่างมากมาย ปีนี้ก็เช่นเดียวกันสำนักต่างประเทศ กององค์กรระหว่างประเทศรายงานว่าตอนนี้มีแขกอาคันตุกะที่แจ้งความจำนงจะมาร่วมงานเป็นพระภิกษุหลากนิกายกว่า 300 รูป และฆราวาสอีก3,000 กว่าคนจาก 30 ประเทศทั่วโลก
โครงการธรรมยาตรา "พลิกฟื้นคืนพุทธ สุวรรณภูมิสู่พุทธภูมิ" รุ่นที่ 1 เริ่มขบวนธรรมยาตรา ณ เมืองตาคลี และโบรี ประเทศอินเดีย
คณะพระธรรมยาตรา โครงการธรรมยาตรา รุ่นที่ 1 "พลิกฟื้นคืนพุทธ สุวรรณภูมิสู่พุทธภูมิ" เริ่มขบวนธรรมยาตรา วันที่ 2 ผ่านเมืองตาคลี และโบรี ประเทศอินเดีย พุทธศาสนิกชนต้อนรับตลอดเส้นทาง
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ คือ จารึกศิลาฉบับที่สิบสามของพระเจ้าอโศกมหาราช
ความแตกต่างระหว่าง นิสิต กับ นักศึกษา