เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑๓ ( บริจาคพระนางมัทรี )
เราตถาคตเมื่อสละชาลีโอรส กัณหาชินาธิดา และ มัทรีเทวี ผู้เคารพต่อภัสดา มิได้คิดเสียดายเลย เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณเท่านั้น ลูกทั้งสองเป็นที่เกลียดชังของเราก็หามิได้ มัทรีเทวีไม่เป็นที่รักของเราก็หามิได้พระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรายิ่งกว่า เพราะฉะนั้นเราจึงได้ให้บุตรธิดา และเทวีผู้เป็นที่รักเสีย
โลกุตตรภูมิ
ดูก่อนสารีบุตร เราตถาคตย่อมรู้ชัดซึ่งนิพพาน ทางอันยังสัตว์ให้ถึงนิพพาน และปฏิปทาอันยังสัตว์ให้ถึงนิพพาน อนึ่ง สัตว์ปฏิบัติประการใด ย่อมกระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ เราตถาคตย่อมรู้ชัด ซึ่งประการนั้นด้วย
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๓ )
พระองค์ทรงรับอาราธนา แล้วประทานบาตรแก่มหาทุคตะ มหาทุคตะรับบาตรไปด้วยความดีใจ เสมือนหนึ่งได้มหาสมบัติจักรพรรดิ น้ำตาไหลอาบแก้ม ด้วยความปลาบปลื้มปีติยินดี แม้พระราชามหาอำมาตย์ จะอ้อนวอน ขอบาตร หรือต่อรองขอซื้อบาตร ด้วยราคาเป็นแสน เขาก็ไม่ยอมขาย เพราะมหาทุคตะเป็นผู้มีปัญญา เห็นว่าบุญเท่านั้นที่จะเป็นสมบัติติดตัวไปได้ ทั้งในภพนี้และภพเบื้องหน้า จึงไม่ยอมยกบุญนี้ให้แก่ใคร
พุทธชิโนรส (๒)
จิตซึ่งบุคคลตั้งไว้ผิด พึงทำบุคคลนั้น ให้เลวทรามยิ่งกว่าความพินาศเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือคนจองเวรเห็นคนจองเวรทำแก่กันนั้นเสียอีก
สุมนสามเณร
บุคคลใดมีสัจจะ มีธรรมะ มีความไม่เบียดเบียน มีความสำรวม มีความข่มใจ บุคคลนั้นชื่อว่า เป็นนักปราชญ์ผู้บริสุทธิ์ ชื่อว่าเป็นเถระ ผู้มั่นคงในธรรม
พระพุทธคุณ ตอน ผู้เป็นครูของมนุษย์และเทวา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงได้พระนามว่า สตฺถา เทวมนุสฺสานํ คือ ทรงเป็นบรมครูของเทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย เพราะตั้งแต่แรกที่ทรงสร้างบารมี พระองค์ทรงมีมหากรุณาธิคุณ ตั้งความปรารถนาที่จะนำพาสรรพสัตว์ทั้งหลาย ให้หลุดพ้นจากกองทุกข์ไปสู่พระนิพพาน
กระต่ายน้อยในดวงจันทร์
“การสร้างบารมี” เป็นงานที่แท้จริงของมวลมนุษยชาติ เราเกิดมาเพื่อสร้างบารมี ดำเนินตามรอยบาทพระบรมศาสดา มุ่งแสวงหาสาระอันแท้จริงของชีวิต
ทุกข์อย่างยิ่ง สุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์อย่างยิ่ง, บัณฑิตทราบเนื้อความนั่น ตามความจริงแล้ว
พระพาหิยทารุจิริยเถระ
กาลย่อมล่วงไป ราตรีย่อมผ่านไป ชั้นแห่งวัยย่อมละไปตามลำดับ บุคคลเมื่อเห็นมรณภัยแล้ว พึงละอามิสในโลกเสีย มุ่งสู่สันติเถิด”
มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม - จิตที่ไม่หวั่นไหว
พระโพธิสัตว์จึงบอกกับน้องว่า “น้องเอ๋ย ธรรมในหมู่มนุษย์นี้ คือ ลาภ เสื่อมลาภ ยศ เสื่อมยศ นินทา สรรเสริญ สุขและทุกข์ ทั้งหมดนี้เป็นของไม่เที่ยง มีแล้วก็ต้องเปลี่ยนแปลง เป็นเรื่องธรรมดาของโลก เจ้าอย่าได้เสียใจไปเลย” แต่ลิงน้องชาย แม้จะได้ฟังอย่างนั้น ก็ยังไม่สามารถลดความอิจฉาริษยา ในลาภสักการะของลิงกาฬพาหุได้ จึงพูดกับพี่ชายว่า “พี่ราธะ พี่เป็นบัณฑิต ย่อมรู้ถึงประโยชน์ แม้ที่ยังมาไม่ถึง ทำอย่างไรหนอ เราจะได้เห็นเจ้าลิงดำตัวนั้น ถูกขับไล่ออกไปจากราชสกุล”