การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
โครงการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดสติ ปัญญาและสันติสุข ปีที่ 2
ชมรมพุทธศาสตร์สากล (สถาบันพัฒนาเยาวชนโลก) โดยทีมงานผู้ประสานงานมหาวิทยาลัย จัดโครงการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดสติ ปัญญา และสันติสุข ปีที่ 2 สำหรับนักศึกษาคณะพยาบาลชั้นปีที่ 4 จำนวน 107 คน มหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรม เวิร์ลพีซวัลเล่ย์ เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
พุทธบุตรต้องสวมหัวใจความเป็นพระแท้ด้วย “สัมมาอะระหัง”
ช่วงนี้เป็นฤดูกาลแห่งการเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญในการฝึกฝนอบรมตนเองของพระภิกษุให้เป็นพระแท้ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งกิจวัตรกิจกรรม เพื่อนำพาไปสู่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน โดยเฉพาะการฝึกฝนอบรมจิตถือเป็นการฝึกที่สำคัญที่สุดของพระ เพราะจิตที่สะอาดผ่องใสย่อมส่งผลให้ศีล สมาธิ ปัญญา และสมณสัญญาเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้การฝึกจิตเป็นไปอย่างก้าวหน้า รวดเร็ว ต้องอาศัยการภาวนา “สัมมาอะระหัง” กำกับตลอดเวลา
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 12 พุทธพยากรณ์ความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
การพยากรณ์ความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถือเป็นกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์จะต้องทรงกระทำ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - เป็นผู้ประเสริฐด้วยการปฏิบัติ
พระอินทร์ได้ฟังคำอธิบายเช่นนั้น ทรงหายสงสัยในการบำเพ็ญตบะของพระฤๅษี ด้วยตระหนักชัดแล้วว่า ท่านไม่ได้ปรารถนาตำแหน่งท้าวสักกะ หรือความเป็นพระราชา มหาเศรษฐีเลย หากท่านมีความปรารถนาที่ยิ่งใหญ่ คือ ปรารถนา อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ อันประเสริฐ ซึ่งยากที่มนุษย์ธรรมดาจะกล้าคิดกล้าทำ
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 13 พระนางมหาปชาบดีโคตมีเตรียมผ้าสาฎก
กรรมวิธีในการผลิตผ้าสาฎกของพระนางมหาปชาบดีโคตมีนั้น ทุกขั้นตอนในการผลิต ล้วนทำอย่างละเอียดประณีตและพิถีพิถัน
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 20
สิริวัฒกะเศรษฐีกล่าว พลางยื่นท่อนไม้ตะเคียนคืบหนึ่งส่งให้มโหสถดู “พระราชาทรงมีพระบรม ราชโองการมา ให้พวกเราพิจารณาท่อนไม้นี้ว่า ทางไหนเป็นโคน ทางไหนเป็นปลาย แม้นไม่รู้จะทรงปรับสินไหม 1000 กหาปณะ เราทุกคนในที่นี้ ต่างจนปัญญาไปตามๆกัน ยังไม่อาจจะชี้ได้เลย ว่าทางไหนเป็นโคน ทางไหนเป็นปลาย ลูกพอจะรู้ได้ไหมล่ะ”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 59
พระเจ้าวิเทหราชทรงสดับแล้ว ก็ทรงหนักพระทัยอยู่มิใช่น้อย เพราะตัวอย่างของโครวินทเศรษฐีที่ท่านเสนกะยกอ้างมานั้น พระองค์ก็ทรงทราบดี แม้นใครๆก็รู้จักทั่วบ้านทั่วเมือง เป็นข้อยืนยันมั่นคงว่า บุคคลผู้ไม่มีศิลปะ ไม่มีพวกพ้อง แม้รูปร่างจะไม่สมประกอบก็ตามที แต่ขอให้มีทรัพย์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น อำนาจของทรัพย์ย่อมอำนวยสุขให้อย่างมหาศาล
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 84
มโหสถบัณฑิตแลเห็นอำมาตย์นั้นแต่ไกล ก็รู้ทันทีว่าอำมาตย์ผู้นั้นถูกพระราชาใช้ให้มาตาม หาตน ครั้นแล้วจึงดำริต่อไปว่า “บัด นี้ได้เวลาที่เราจะกลับคืนสู่มิถิลานครเสียที เมื่อกลับไปถึงแล้ว เราก็จะได้บริโภคโภชนาหารรสเลิศที่อมราเทวีจัดเตรียมไว้เพื่อต้อนรับ”
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก