ส้มกิ๊กกลายเป็นส้มจื่อ
ต้นสัมกิ๊กต้นหนึ่งเจริญเติบโตอยู่ทางใต้แม่น้ำไหว ออกผลส้มกิ๊กมาทุก ๆ ปี รสชาติหวานอร่อยแต่ถ้าย้ายไปปลูกทางเหนือแม่น้ำไหวแล้ว กลับจะออกผลเป็นส้มจื่อซึ่งทั้งขม ทั้งฝาด
อัธยาศัยของมนุษย์ (๒)
บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ มากไปด้วยความแค้นใจ ถูกว่าแม้เล็กน้อยก็ขัดเคืองฉุนเฉียว กระฟัดกระเฟียดกระด้างกระเดื่อง แสดงความโกรธความขัดเคือง และความไม่พอใจให้ปรากฏ แต่เขาเป็นผู้ให้ทาน คือ ข้าว น้ำ ผ้า ยวดยาน ระเบียบของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่อยู่อาศัย และประทีปโคมไฟ แก่สมณพราหมณ์ และไม่เป็นผู้มีใจริษยาในลาภ สักการะ ความเคารพ ความนับถือ การไหว้ และการบูชาของผู้อื่น ไม่กีดกัน ไม่ตัดรอน ไม่ผูกความริษยา ถ้าบุคคลนั้น จุติจากอัตภาพนั้นไปสู่สัมปรายภพ แล้วกลับมาเกิดอีก ย่อมเป็นผู้มีผิวพรรณทราม รูปไม่งาม แต่จะเป็นคนมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคสมบัติมากและสูงศักดิ์
คนรวยที่แท้จริง
ตำแหน่ง “มหาเศรษฐี” มักเป็นที่ชื่นชมสนใจของคนในโลก ทุกปีจะมีการจัดอันดับ “ความรวย” ออกแสดงทางสื่อหลายค่ายด้วยกัน
ใกล้คนดีก็ได้ดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าใดถึงพร้อมแล้วด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ เป็นผู้กล่าวสอนให้รู้แจ้ง ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้ร่าเริง เป็นผู้สามารถบอกพระสัทธรรมได้อย่างดี
มงคลที่ ๙ มีวินัย - ศีล เส้นทางสู่ความเป็นมนุษย์
ศีล เป็นคุณธรรมที่จะคุ้มครองรักษากาย วาจา ใจ ของเราให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะส่งให้เราเข้าถึงสมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นหนทางแห่งการบรรลุมรรคผลนิพพาน การรักษาศีลมีจุดประสงค์หลายประการด้วยกัน อย่างน้อยก็เป็นเกราะคุ้มกันชีวิตของเราในปัจจุบันชาตินี้ ไม่ให้พบกับความทุกข์ ความเดือดร้อน และความเสื่อมเสียอันสืบเนื่องจากการเบียดเบียนผู้อื่น
ทำไมคนจึงต่างกัน ?
สุภมาณพ โตเทยยบุตร พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลถาม พระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ อะไรหนอแล เป็นเหตุ เป็นปัจจัยให้พวกมนุษย์ที่เกิดเป็นมนุษย์อยู่ ปรากฏความเลวและความประณีต
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
โครงการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดสติ ปัญญาและสันติสุข ปีที่ 2
ชมรมพุทธศาสตร์สากล (สถาบันพัฒนาเยาวชนโลก) โดยทีมงานผู้ประสานงานมหาวิทยาลัย จัดโครงการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดสติ ปัญญา และสันติสุข ปีที่ 2 สำหรับนักศึกษาคณะพยาบาลชั้นปีที่ 4 จำนวน 107 คน มหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรม เวิร์ลพีซวัลเล่ย์ เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
พุทธบุตรต้องสวมหัวใจความเป็นพระแท้ด้วย “สัมมาอะระหัง”
ช่วงนี้เป็นฤดูกาลแห่งการเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญในการฝึกฝนอบรมตนเองของพระภิกษุให้เป็นพระแท้ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งกิจวัตรกิจกรรม เพื่อนำพาไปสู่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน โดยเฉพาะการฝึกฝนอบรมจิตถือเป็นการฝึกที่สำคัญที่สุดของพระ เพราะจิตที่สะอาดผ่องใสย่อมส่งผลให้ศีล สมาธิ ปัญญา และสมณสัญญาเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้การฝึกจิตเป็นไปอย่างก้าวหน้า รวดเร็ว ต้องอาศัยการภาวนา “สัมมาอะระหัง” กำกับตลอดเวลา