พบทำเลที่ตั้งทางพระพุทธศาสนาแห่งใหม่ในปากีสถาน
ตาลีบันพยายามระเบิดทำลายพระพุทธรูปในปากีฯ
หนังสือแจ้ง กรณี เมส อาแน็ค จากรัฐบาลอัฟกานิสถานล่าสุด มีนโยบายปกป้อง Mes Aynak
คณะกรรมมาธิการ การศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมสภาผู้แทนราษฎร(กมธ.) ได้หารือกับผู้แทนกระทรวงต่างประเทศ และล่าสุดได้ส่งหนังสือทางการแจ้งความคืบหน้า โดยกล่าวถึง รายงานจาก ฯพณฯ มาวิน ตันอรรถนาวิน เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงอิสลามาบัด สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ระบุรัฐบาลอัฟกานิสถาน มีนโยบายที่จะรักษาโบราณสถานแห่งนี้
Once a hub of Buddhism,
The glory of Gandhara
วันสตรีสากล 8 มีนาคม ตอน เมื่อผู้หญิงขอเป็นช้างเท้าหน้า
การที่ผู้หญิงถูกคาดหวังให้เป็นช้างเท้าหลัง เป็นเพราะการอบรมเลี้ยงดูหรือเปล่า ภาพที่ผู้หญิงเป็นช้างเท้าหลังในบ้านเมืองเราคงไม่ถึงขนาดนั้น แต่ในบางประเทศ ในบางชุมชน ผู้หญิงยังถูกกดอยู่ค่อนข้างมาก แต่ในบางประเทศก็มีความเสมอภาคขึ้นมามากแล้ว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน