พญานาค คาถาป้องกันงู
ตระกูลนาคเป็นสัตว์ดุร้ายเจ้าโทสะ ได้รับกระทบกระทั่งแม้เกน้อยก็โกรธอาจเผาผลาญผู้ที่ตนพบเห็นหรือฉกกัดได้ ผู้ที่กลัวงูทั้งหลายจึงหาวิธีป้องกันงูในลักษณะต่างๆ อันนำมาซึ่งความผูกอาฆาตพยาบาทผูกเวรกันต่อไปข้ามชาติ เช่น ตีงูจนหลังหัก หรือตายก็มี
พญานาค การเลี้ยงลูกของนาคบางประเภท
พวกนางนาคเมื่อตั้งครรภ์ในอุตุสมัย ก็จะพากันคิดว่า หากเราจักคลอดในบึงน้อยนี้พวกลูกๆ ของเราจักไม่อาจทนกำลังของกระแสคลื่นและครุฑที่โลดแล่นมาได้ แม่นาคเหล่านั้นจึงพากันดำลงในมหาสมุทรถึงประตูมีปากทางร่วมกัน พากันเข้าไปยังแม่น้ำใหญ่ 5 สาย แล้วไปสู่ป่าหิมวันต์
พญานาค ศัตรูของพญานาค
นาคและครุฑเป็นศัตรูกันอย่างไร อาลัมพายน์คืออะไร หมองูใช้คาถาอะไรปราบงู บั้งไฟพญานาคลิปบั้งไฟพญานาค เปิดใจคนเห็นพญานาค รวมรูปพญานาค เรื่องราวน่าสนใจเกี่ยวพญานาคอยู่ที่นี่ค่ะ . . .
คาถาต่างๆ มีกำเนิดมาอย่างไรใครเป็นผู้แต่ง
คาถาต่างๆ เช่นชัยมงคลคาถา คาถาชินบัญชร มีกำเนิดมาอย่างไร ใครเป็นผู้แต่งคาถาเหล่านี้
ชาวบ้านตื่น พญานาค โชว์ก่อนวันเข้าพรรษา
ชาวบ้านบึงกาฬ แห่ดูพญานาคขึ้นมาลอยเหนือน้ำในบึงโขง
บั้งไฟพญานาค ปรากฏการณ์ที่สะกดทุกสายตา
"ตุลาคม" เป็นเดือนที่ริมฝั่งโขงจะคึกคักเป็นพิเศษ กับเหตุการณ์ที่ทุกคนรอคอย ซึ่งมีแค่ครั้งเดียวในรอบปี ที่จะได้สัมผัสกับความมหัศจรรย์ทางธรรมชาติ "บั้งไฟพญานาค" ในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 11
บั้งไฟพญานาค รวมทุกความเป็นไปของพญานาค ที่นี่ที่เดียว !
นาค หรือ พญานาค เป็นความเชื่อในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเรียกชื่อต่าง ๆ กัน แต่มีลักษณะร่วมกัน คือ เป็นงูขนาดใหญ่มีหงอน เป็นสัญลักษณ์แห่งความยิ่งใหญ่ ความอุดมสมบูรณ์ ความมีวาสนา อีกทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ของบันไดสู่จักรวาลอีกด้วย
คำชะโนด ตำนานพญานาค บั้งไฟพญานาค พุ่งขึ้นท้องฟ้า ราว 117 ลูก
เจ้าหน้าที่ จ. หนองคายกางเต็นท์ไว้บริการนักท่องเที่ยวที่ไม่มีที่พักแห่ไปชมบั้งไฟพญานาคช่วงเทศกาลออกพรรษา
ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ
พิธีตักบาตรเทโวโรหณะ (หรือตักบาตรเทโว) ในช่วงเทศกาลออกพรรษาในแต่ละท้องถิ่น แต่ละภูมิภาค ก็จัดกิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ท้องถิ่นของตนเองประเพณีที่สำคัญ
Naga at Bungkarn province
Naga is one of the animals in the celestial realms. One of them had seen the Lord Buddha coming back from giving the sermon to his mother in the Tavatimsa Heaven, it believed more and began to blow its fire to worship the Lord Buddha on the last day of Buddhist Lent. However, the naga in this new did not blow fire but the people and visitors were interested in it. Why?