ทำอย่างไรจึงจะรวย สวย บริวารไม่ดื้อ ใช้แต่ของดี ไม่มีภัยอันตราย ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตบุรุษครั้นให้ทานด้วยศรัทธาแล้ว ย่อมเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก และเป็นผู้มีรูปสวยงามน่าดู น่าเลื่อมใส
เกาะติดบรรยากาศเดินธุดงค์ธรรมชัยปีที่ 2 วันที่ 19 มกราคม 2556
พระครูปิยธรรมพิมล เจ้าอาวาสวัดบางปลา ได้ออกเดินนำคณะพระธุดงค์ในครั้งนี้ด้วย ท่านเพิ่งได้เลื่อนตำแหน่งเป็น เจ้าคณะตำบลชั้นเอกเมื่อเดือนที่แล้วนี่เอง
ข่าวประชาสัมพันธ์ การเดินทาง เข้า - ออก วัดพระธรรมกาย
เนื่องจากมีการทำสะพานยกระดับด้านทางเข้าวัดพระธรรมกาย หน้าอำเภอ คลองหลวง ทางวัดพระธรรมกายจึงเปิดประตูเข้า-ออกจากวัดเพิ่มเติม โดยช่วงเวลาเปิดประตูป้อม 8 (ตรงมาจากถนนสีขาว)ให้รถวิ่งเข้า-ออก เริ่มวันที่ 10 กุมภาพันธ์
ทานทำให้อายุยืน ผิวสวย มีความสุข แข็งแรง ฉลาด ได้หรือไม่ ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทายกผู้ให้โภชนะ (อาหาร) เป็นทาน ชื่อว่าให้ฐานะ 5 อย่างแก่ปฏิคาหก (ผู้รับ) 5 อย่างเป็นไฉน คือ
หมอเลี๊ยบเล็งให้ขรก.ทำงานที่บ้าน
นรก-สวรรค์
บุคคลบางคนในโลกนี้ ประพฤติทุจริตด้วยกาย... ด้วยวาจา ... ด้วยใจ บุคคลนั้นครั้นประพฤติทุจริตด้วยกาย... ด้วยวาจา... ด้วยใจแล้ว เพราะกายแตก ตายไปย่อมเข้าถึงอุบาย ทุคติ วินิบาต นรก นิรยบาลทั้งหลาย ต่างก็จับบุคคลนั้นที่แขนไปแสดงแก่พญายมว่า
Case Study
ด้วยกรรมเจ้าชู้ในอดีต ทำให้ผู้หญิงคนหนึ่งต้องกลายเป็นภรรยาคนที่สองของสามี ทั้งๆที่ได้หมั้นหมายกันเอาไว้ก่อนที่สามีจะไปได้หญิงอื่นเป็นภรรยาและมีลูกด้วยกัน เมื่อเธอรู้ความจริง แม้จะตั้งครรภ์ แต่ก็ปกปิดไม่ให้สามีรู้ ทำให้ลูกสาวของเธอไม่มีโอกาสได้พบหน้าพ่อเลย...และกับคำถาม...เทวดาประจำรถมีจริงหรือไม่...พระภูมิ, เจ้าที่ คือ อะไร...ที่นี่...มีคำตอบ...
จะเป็นอย่างไร เมื่อตายแล้ว ตอนที่ 26
ทุกคนล้วนตกอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรมทั้งสิ้น ดังนั้น เราจะต้องไม่ประมาท จะต้องประพฤติดีปฏิบัติชอบตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทำไมจึงรวย ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับสุภมาณพ โตเทยยบุตรว่า ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้.
ข้อคิดธรรมะของพระสุธรรมญาณวิเทศ (สุธรรม สุธมฺโม) จากหนังสือ "หน้าสุดท้าย"
ข้อคิดธรรมะ จากหนังสือ "หน้าสุดท้าย" ข้อคิดสาระ... เพื่อจุดเริ่มต้นที่ดีของชีวิต... โดยนวธรรม พระสุธรรมญาณวิเทศ (สุธรรม สุธมฺโม)