3 วัดไทยในญี่ปุ่น จัดทำบุญเปิดวัดประดิษฐานเสาสีมา เปิดหมู่บ้านปฏิบัติธรรม อุทิศบุญแด่เหยื่อแผ่นดินไหวไทย-เมียนมา
พิธีทำบุญ 3 วัดไทยในประเทศญี่ปุ่น จัดทำบุญเปิดวัด ประดิษฐานเสาสีมา เปิดหมู่บ้านปฏิบัติธรรม สร้างเจดีย์ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 12-13 เมษายน พ.ศ. 2568
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ได้ให้การต้อนรับ หัวหน้าภาควิชาพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยโอตานิ เเละคณะ
พระมหาสุธรรม สุรตโน ป.ธ.9, ดร. ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ได้ให้การต้อนรับ หัวหน้าภาควิชาพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยโอตานิ ประเทศญี่ปุ่น เเละคณะ
ประวัติศาสตร์วันธรรมชัย : วันแห่งชัยชนะโดยธรรม
วันธรรมชัย อธิบายความสำคัญและประวัติของหลวงพ่อธัมมชโย การบวชและกิจกรรมในวันที่ 27 สิงหาคม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ถึง 2566
วัดพระธรรมกายฮ่องกง จัดปฏิบัติธรรมให้กับชาวฮ่องกง
วัดพระธรรมกายฮ่องกง ได้จัดปฏิบัติธรรมให้กับชาวฮ่องกง ซึ่งได้จัดเป็นประจำทุกวันศุกร์ ตลอดช่วงเข้าพรรษา
พุทธศาสนากับภาษาไทย
พุทธศาสนามีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมทางด้านภาษาของไทย
ประมุขและผู้นำสงฆ์จากต่างประเทศ เข้าเฝ้าสมเด็จพระสังฆราช เนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา
เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) นำประมุขสงฆ์-พระสงฆ์ ต่างประเทศ เข้าเฝ้าสมเด็จพระสังฆราช เนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา
“พระมหา ดร.พงศ์ศักดิ์ ฐานิโย” ผู้จบปริญญาเอกเร็วที่สุดในรอบ ๓๗๐ ปีของมหาวิทยาลัยชั้นนำประเทศญี่ปุ่น
นาฬิกาบอกเวลาบ่ายสองโมง เรารู้สึกตื่นเต้นกับนัดสำคัญ ที่จะได้สัมภาษณ์อาจารย์มหาวิทยาลัยด้านพุทธศาสตร์ชั้นนำของประเทศญี่ปุ่น เจ้าของสถิติ “ผู้จบปริญญาเอกเร็วที่สุดในรอบ ๓๗๐ ปี นับตั้งแต่ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมา” “พระมหา ดร.พงศ์ศักดิ์ ฐานิโย” คือเจ้าของสถิตินี้
ใบลานเถรวาทจารพระศาสน์สืบสายคัมภีร์
เถรวาท เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในพระพุทธศาสนา โดยศัพท์แปลว่า “ตามวาทะของพระเถระ” ซึ่งหมายถึงพระอรหันต์ขีณาสพ ๕๐๐ รูป ผู้ทำปฐมสังคายนา ณ ถ้ำสัตบรรณคูหา หลังพุทธปรินิพพาน ๓ เดือน เป็นนิกายหลักที่นับถือในประเทศศรีลังกา และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๓)
ผู้เขียนและคณะทีมงานของสถาบันฯมีความปลื้มปีติที่ได้แสดงความกตัญญูตอบแทนและประกาศเกียรติคุณของพระเดชพระคุณ-พระเทพญาณมหามุนี วิ. (หลวงพ่อธัมมชโย) ที่เป็นองค์สถาปนาสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยซึ่งท่านมีมโนปณิธานมาเป็นเวลากว่า ๓๕ ปีว่าน่าจะมีใครสักคนหรือหลาย ๆ คนในองค์กรทำการค้นคว้าหาหลักฐานคำสอนดั้งเดิมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเฉพาะเรื่องธรรมกายเพื่อทำความจริงให้ปรากฏ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน