มหาโควินทสูตรตอนที่ ๔ (โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก คนดี หมายถึงผู้ที่มีใจสะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากอกุศล มีศีล ๕ เป็นปกติ
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (3)
ลูกเอ๋ย ลูกอย่าเชื่อคำนั้น ข่าวที่ว่า สุคติจะมีเพราะเอาบุตรไปบูชายัญ ทางนั้นเป็นทางไปนรก ไม่ใช่ทางไปสวรรค์ ลูกรัก ลูกจงให้ทาน อย่าได้เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง นี่เป็นทางไปสู่สุคติสวรรค์ ส่วนการไปสู่สุคติ ไม่ใช่เพราะเอาบุตรบูชายัญ
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (4)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 4 โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 171
ทันใดนั้นเอง ภาพที่ปรากฏอยู่เบื้องหน้า ทำให้พระองค์ถึงกับทรงตกพระทัย เพราะบัดนี้พระนครที่พระองค์ประทับอยู่ ได้ถูกกองทัพมหึมาเคลื่อนกำลังพลเข้าล้อมกำแพงพระนครไว้แล้วโดยรอบ แสงคบเพลิงนับแสนๆ ดวงถูกสาดส่องไปทั่วบริเวณ
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 170
เมื่อทหารเหล่านั้น นำเสด็จกษัตริย์ทั้งสี่พระองค์มาถึงเชิงบันได ก็ช่วยกันเปิดปากประตูอุโมงค์ แล้วทูลเชิญให้เสด็จพระดำเนินไปตามเส้นทางนั้น เมื่อเสด็จเข้าไปสู่ภายในอุโมงค์แล้ว พระนางทอดพระเนตรเห็นทางลับนั้น ก็ทรงมีพระทัยพิศวงยิ่งนัก ถึงกับทรงปรารภขึ้นว่า “เอ...ชอบกลอยู่นะ เราอยู่ที่นี่มานาน ตั้งแต่เกิดมาจนแก่ปูนนี้ ก็ยังไม่เคยลงมาตามทางนี้เลย”
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 169
จากนั้น ทรงมีพระราชบัญชาให้เหล่าเสนาตระเตรียมกองทัพใหญ่ ๑๘กองทัพ พร้อมกับให้สัญญาณแก่พระราชาทั้งร้อยเอ็ดพระองค์ว่า “ถึงเวลาแล้วที่พวกเราจะร่วมใจกันเด็ดหัวศัตรูผู้ขลาดเขลา เมื่อเผด็จศึกได้แล้ว เราถึงจะกลับมาดื่มฉลองชัยบานกันให้มโหฬารทีเดียว” สิ้นพระกระแสรับสั่งของพระเจ้าจุลนี กองทัพทั้งหมดก็เคลื่อนพลออกจากปัญจาลนครทันที
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ต่างวิธีการ แต่เป้าหมายเดียวกัน
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้กล่าวถึงวิธีการทำใจให้สงบไว้ ๔๐วิธี ซึ่งทั้งหมดนั้น เราสามารถเลือกปฏิบัติวิธีการใดวิธีการหนึ่ง สองหรือสามวิธีการพร้อมกันก็ได้ ตามแต่จริตอัธยาศัยของแต่ละคน แต่สุดท้ายก็มีเป้าหมายเดียวกัน คือ ต้องการความสงบของใจ เมื่อใจรวมหยุดนิ่ง ก็จะดิ่งเข้าสู่กลางภายในตรงศูนย์กลางกายฐานที่๗ และจะได้ตรัสรู้ธรรมไปตามลำดับ
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ประพฤติธรรม คือ เรื่องสำคัญของชีวิต
สังขารร่างกายของเราก็เช่นเดียวกัน ความแก่ ความเจ็บ ความตายได้คืบคลานเข้ามาในชีวิตเรา ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทุกอนุวินาที โดยที่ตัวเราก็สังเกตไม่ออก เมื่อเวลาผ่านไป ๑๐ ปี ๒๐ ปี ๖๐ ปี จึงรู้ว่าเราแก่ลงทุกขณะ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่องกันไปสู่ความเสื่อมสลาย ดังนั้น เราจึงไม่ควรประมาทในชีวิต
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 16
จึงกลับมาแลดูพระองค์ก็จำได้ ว่า ใช่พระเตมิยราชกุมารแน่แล้ว จึงหมอบลงแทบพระบาทของพระโพธิสัตว์ ประคองอัญชลีทูลวิงวอนว่า “ข้าแต่พระราชโอรส ขอพระองค์จงเสด็จกลับพระนครเถิด ข้าพระบาทจะนำพระองค์กลับสู่ราชมณเฑียร ขอพระองค์จงครองราชย์สมบัติ ขอจงทรงพระเจริญ พระองค์จะอยู่ทำอะไรในป่านี้เล่า