มานพหนุ่มผู้ได้ผ้าทิพย์จากต้นกัลปพฤกษ์ ตอนที่ 2
พระราชเทวีทรงกราบทูลว่า “ข้าแต่พระสวามี ชมพูทวีปนั้นหาได้ว่างจากพระอรหันต์ไม่"
กุมมาสปิณฑชาดก ชาดกว่าด้วยอานิสงส์ถวายขนมกุมมาส
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรหนอเป็นเหตุ เป็นปัจจัยในการแย้มสรวลของพระองค์ ” “ ดูกร อานนท์ กุมาริกาผู้นี้จักได้เป็นอัครมเหสีของพระเจ้าโกศลในวันนี้ทีเดียว เพราะผลแห่งการถวายก้อนขนมกุมมาสเหล่านี้ ”
ขุรปุตตชาดก ชาดกว่าด้วยการทำตนให้ไร้ประโยชน์
พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้ถูกภรรยาเก่าโลมเร้า แล้วทรงซักถามภิกษุนั้น “ จริงหรือภิกษุ ได้ทราบว่าเธอกระสันอยากสึก ” “ จริงพระเจ้าค่ะ ” “ เธอกระสันอยากสึกเพราะเหตุอะไร ” “ เพราะภรรยาเก่าพระเจ้าค่ะ ” “ ดูกรภิกษุหญิงนี้ทำสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เธอไม่เฉพาะในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อนเธอกำลังจะกระโดดเข้าไฟตายเพราะอาศัยหญิงนี้ แต่อาศัยบัณฑิตจึงได้ชีวิตไว้ ”
ผ้ากฐินธรรมชัย ผ้าแห่งความสมปรารถนา
ผ้ากฐินที่ทุกท่านได้ร่วมบุญมา จะเป็นปัจจัยก็ดี หรือจะเป็นผ้าไตรก็ดี นำผ้ากฐินนี้มาน้อมถวายแด่คณะสงฆ์ในวันทอดกฐิน ผ้ากฐินนี้เองคือผ้าที่ยังความปรารถนาของบุคคล 2 ฝ่ายให้สำเร็จ ฝ่ายแรกก็คือ ฝ่ายคณะสงฆ์ และอีกฝ่ายคือ ฝ่ายฆราวาส แล้วผ้ากฐินทำให้พระภิกษุสงฆ์สมปรารถนาอย่างได้อย่างไร?
ออกแบบชีวิตด้วยตนเอง (๒)
ดูก่อนน้องนางผู้เจริญ ในท่ามกลางหญิงเหล่านี้ ไม่มีหญิงแม้แต่คนเดียวที่โดดเด่นเสมอเหมือนกับเธอ เธอสง่างามราวกับนางอัปสร ผู้งดงามท่ามกลางหมู่เทพนารี เป็นสตรีผู้มีบุญลักษณะ เธอทำบุญอะไรไว้ จึงได้สิริสมบัตินี้มาครอบครอง
อานิสงส์รักษาอุโบสถศีลครึ่งวัน
กามแม้น้อย ก็ไม่พอแก่มหาชน มหาชนย่อมไม่อิ่มในกามแม้มาก น่าสลดใจที่พวกคนพาลพากันบ่นว่า รูป เสียงเหล่านี้ จงมีแก่เรา กุลบุตรผู้ประกอบด้วยความเพียร พึงเว้นให้ขาดเถิด
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - หยุดใจเพื่อให้เป็นไทจากอารมณ์
พระราชาเห็นว่า การเข้าหาสมณะผู้สงบและรับฟังธรรมะจากท่าน คงจะทำให้ใจสงบขึ้นมาได้ จึงเสด็จพระราชดำเนินไปอารามที่พระนารทเถระจำพรรษาอยู่ พระเถระได้แสดงธรรมให้พระเจ้ามุณฑะว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในโลกนี้มีฐานะอยู่ ๕ประการ ที่สมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆในโลกไม่พึงได้ ฐานะ ๕อย่างนั้นคือ
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพาพ้นภัย (๒)
เนื่องจากความคุ้นเคยกันมากเกินไป พระเทวีได้ประพฤติ นอกใจพระราชา โดยประพฤติมิจฉาจารกับทาสของตนเอง เมื่อพระนางทำผิดแล้ว เกรงว่าพระสวามีจะจับได้ จึงแนะนำให้ทาสปลงพระชนม์พระราชา
วันวิสาขบูชา ตอน วันประสูติ
ดวงจันทร์ในคืนวันเพ็ญปราศจากมลทิน โคจรไปในอากาศย่อมสว่างกว่าหมู่ดาวบนท้องฟ้า ด้วยกำลังแห่งรัศมี ฉันใดพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อทรงอุบัติขึ้นย่อมรุ่งโรจน์กว่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย ฉันนั้น
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ตายแทนกันได้
นายพรานก็มีใจอ่อนโยน เกิดหิริโอตตัปปะ ได้คิดว่า "รางวัล และยศจากพระราชาจะมีประโยชน์อะไร ถ้าเราทำร้ายสัตว์ผู้มีคุณธรรมเช่นนี้ แผ่นดินจะต้องสูบเรา หรือสายฟ้าจะต้องฟาดลงบนกระหม่อมของเราเป็นแน่"